สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางมยุรี ขันนุ้ย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-02 เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมทำอาหารและขนม (3) กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมอาสาสมัคร (5) อบรมให้ความรู้ (6) กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล (7) ออกกำลังกายที่เหมาะสม (8) อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...เนื่องด้วยเป็นช่วงฝนตกทุกวัน การเดินทางมาร่วมกิจกรรมมีความลำบาก หากลูกหลานไม่พามา
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขี้น เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จากภาวะนี้ทำให้เกิดความตื่นตัวและเตรียมการเพิื่อรองรับและให้การดูแลประชากรกลุ่มนี้มากขี้น จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิตแต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือตัวผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจโดยเฉพาะเรื่องการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย การดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งสุขภาพกายสุขภาพจิตเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง
- 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
- กิจกรรมทำอาหารและขนม
- กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
- กิจกรรมอาสาสมัคร
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล
- ออกกำลังกายที่เหมาะสม
- อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบี้องต้นได้
- ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สามารถอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็นสุข
- ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชนมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเองและเพื่อนสมาชิก
- เครือข่ายสุขภาพในชุมขนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้
วันที่ 5 กรกฎาคม 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
-อาหาร
-ออกกำลังกายและสาธิตการออกกำลังกาย
-การรับประมานยา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มัีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30คน
แกนนำในหมู่บ้าน 15 คน
45
0
2. ออกกำลังกายที่เหมาะสม
วันที่ 5 กรกฎาคม 2567 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
มีกิจกรรมการออกกำลังหายในผู้สูงอายุ อาทิย์ละ 2-3 วัน หากฝนตก งด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 20-30 คน ต่อเนื่อง
40
0
3. กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผู้สูงอายุรวมกลุ่มทำขนม ร่วมกันเพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพจิตดี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้สูงอายุและผู้ดูแล จำนวน 30 คน เข้าร่วม
30
0
4. อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน
วันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการสมัครอาสาสมัครเยี่ยทบ้านผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการเยี่ยมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ครบทุกคน
10
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
-ผู้สูงอายุในหมู่บ้านมีจำนวน 40 คน เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน
- ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุทั้งหมดในหมู่บ้าน
-จำนวน 40 คน เข้าร่วมกิจกรรมครั้งละประมาณ 30 คน สลับกันมาร่วมกิจกรรม
- ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
-ผู้สูงอายุเสนอให้มีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
80.00
2
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
60.00
60.00
ผู้สูงอายุในหมู่บ้านจำนวน 40 คน เข้าร่วมกิจกรรมโดยสลับกันมา จำนวน 30 คน
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุทั้งหมดในหมู่บ้าน
2.ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
45
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
15
15
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมทำอาหารและขนม (3) กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมอาสาสมัคร (5) อบรมให้ความรู้ (6) กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล (7) ออกกำลังกายที่เหมาะสม (8) อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...เนื่องด้วยเป็นช่วงฝนตกทุกวัน การเดินทางมาร่วมกิจกรรมมีความลำบาก หากลูกหลานไม่พามา
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมยุรี ขันนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางมยุรี ขันนุ้ย
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-02 เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมทำอาหารและขนม (3) กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมอาสาสมัคร (5) อบรมให้ความรู้ (6) กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล (7) ออกกำลังกายที่เหมาะสม (8) อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...เนื่องด้วยเป็นช่วงฝนตกทุกวัน การเดินทางมาร่วมกิจกรรมมีความลำบาก หากลูกหลานไม่พามา
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขี้น เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จากภาวะนี้ทำให้เกิดความตื่นตัวและเตรียมการเพิื่อรองรับและให้การดูแลประชากรกลุ่มนี้มากขี้น จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิตแต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือตัวผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจโดยเฉพาะเรื่องการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย การดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งสุขภาพกายสุขภาพจิตเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง
- 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
- กิจกรรมทำอาหารและขนม
- กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
- กิจกรรมอาสาสมัคร
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล
- ออกกำลังกายที่เหมาะสม
- อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบี้องต้นได้
- ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สามารถอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็นสุข
- ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชนมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเองและเพื่อนสมาชิก
- เครือข่ายสุขภาพในชุมขนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 5 กรกฎาคม 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ -อาหาร -ออกกำลังกายและสาธิตการออกกำลังกาย -การรับประมานยา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมัีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30คน
|
45 | 0 |
2. ออกกำลังกายที่เหมาะสม |
||
วันที่ 5 กรกฎาคม 2567 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำมีกิจกรรมการออกกำลังหายในผู้สูงอายุ อาทิย์ละ 2-3 วัน หากฝนตก งด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 20-30 คน ต่อเนื่อง
|
40 | 0 |
3. กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผู้สูงอายุรวมกลุ่มทำขนม ร่วมกันเพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพจิตดี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้สูงอายุและผู้ดูแล จำนวน 30 คน เข้าร่วม
|
30 | 0 |
4. อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน |
||
วันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 15:30 น.กิจกรรมที่ทำมีการสมัครอาสาสมัครเยี่ยทบ้านผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการเยี่ยมผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ครบทุกคน
|
10 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
- ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
-ผู้สูงอายุในหมู่บ้านมีจำนวน 40 คน เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน - ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุทั้งหมดในหมู่บ้าน -จำนวน 40 คน เข้าร่วมกิจกรรมครั้งละประมาณ 30 คน สลับกันมาร่วมกิจกรรม
- ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
-ผู้สูงอายุเสนอให้มีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 | 80.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 |
60.00 | 60.00 | ผู้สูงอายุในหมู่บ้านจำนวน 40 คน เข้าร่วมกิจกรรมโดยสลับกันมา จำนวน 30 คน |
|
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุทั้งหมดในหมู่บ้าน 2.ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 45 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | 15 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ (2) กิจกรรมทำอาหารและขนม (3) กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมอาสาสมัคร (5) อบรมให้ความรู้ (6) กิจกรรมร่วมทำขนมกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ดูแล (7) ออกกำลังกายที่เหมาะสม (8) อาสาสมัครเพื่อนเยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...เนื่องด้วยเป็นช่วงฝนตกทุกวัน การเดินทางมาร่วมกิจกรรมมีความลำบาก หากลูกหลานไม่พามา
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมยุรี ขันนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......