กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม


“ โครงการพัฒนาทักษะกีฬาต้านยาเสพติด ”

ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฑัยศิกานต์ญา เบณติยานนท์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทักษะกีฬาต้านยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5268-02-08 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาทักษะกีฬาต้านยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทักษะกีฬาต้านยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาทักษะกีฬาต้านยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5268-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดการศึกษาจะต้องพัฒนาเด็กและเยาวชนให้ครบทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เพื่อให้เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ที่ต้องแข่งขันกับนานาชาติในโลกยุคไร้พรมแดน ซึ่งเป็นยุคที่มีปัญหารอบด้าน เนื่องจากโรคระบาดกระจายไปทั่ว ทำให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจสังคมอัตราการว่างงานและการแพร่ระบาดของยาเสพติดเพิ่มขึ้น หน่วยงานทางการศึกษา ครูและบุคลากรทุกคนมีบทบาทสำคัญในการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานหลักสูตร การเรียนรู้ต้องควบคู่กับการพัฒนาทักษะที่เหมาะสมกับช่วงวัย การยับยั้งชั่งใจ การควบคุมอารมณ์ การจดจ่อใส่ใจ การยืดหยุ่น/ปรับตัว เพื่อป้องกันการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งการใช้ยาเสพติดและการตกเป็นเหยื่อในการค้ายาเสพติด
      สถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่ตำบลม่วงงามปัจจุบันกระจายมาสู่ครอบครัวทุกหมู่บ้าน นำความเสี่ยงมาสู่เด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้น นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓-๖ จำนวน 1๓๓ คน ต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด การฝึกทักษะทางกีฬาและส่งเสริมให้นักเรียนได้ออกกำลังกาย ตลอดทั้งการให้ความรู้ ความเข้าใจและโทษภัยของสารเสพติด ช่วยให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม) ได้รับการเสริมสร้างให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ มีทักษะในการดูแลตนเอง สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข มีทักษะด้านกีฬาสามารถต่อยอดในระดับที่สูงขึ้นเป็นแนวทางสำคัญที่ช่วยให้เด็กและเยาวชนหลีกเลี่ยงจากยาเสพติด ไม่เข้ายุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและทำให้โรงเรียนวัดปะโอ (พรพิทยาคม)ปลอดจากยาเสพติดในอนาคต จึงจัดโครงการพัฒนาทักษะกีฬาต้านยาเสพติดขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามรายละเอียดที่อ้างถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ (พรพิทยาคม) มีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษภัยของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพโดยหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติดและหันมาเล่นกีฬา
  2. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ (พรพิทยาคม) มีสุขภาพการแข็งแรงและสุขภาพจิตดี
  3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม) ได้ออกกำลังกาย พัฒนาทักษะกีฬาและส่งเสริมความเป็นเลิศทางกีฬา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติดต่อสุขภาพของเด็กและเยาวชน
  2. พัฒนาทักษาทางกีฬาเปตอง
  3. พัฒนาทักษากรีฑา
  4. ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 133
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ป้องกันและลดภาวะเสี่ยงการติดสารเสพติดของเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม)
  2. เด็กนักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม) ห่างไกลจากยาเสพติด
  3. เด็กนักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม) มีสุขภาพแข็งแรงและสุขภาพจิตดี หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด
  4. เด็กที่มีความสามารถพิเศษทางกีฬาได้รับการพัฒนาในระดับที่สูงขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ (พรพิทยาคม) มีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษภัยของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพโดยหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติดและหันมาเล่นกีฬา
ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเสี่ยง 133 คน มีความรู้ ความเข้าใจตระหนักถึงพิษภัยและห่างไกลสารเสพติด ร้อยละ 100

 

2 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ (พรพิทยาคม) มีสุขภาพการแข็งแรงและสุขภาพจิตดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความสนใจกีฬา/กรีฑา 70 คน ได้รับการฝึกทักษะกีฬาและออกกำลังกาย ร้อยละ 100

 

3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม) ได้ออกกำลังกาย พัฒนาทักษะกีฬาและส่งเสริมความเป็นเลิศทางกีฬา
ตัวชี้วัด : 2.1. เด็กนักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการเล่นกีฬาและออกกำลังกาย มีความรู้ความตระหนักถึงพิษภัยของสารเสพติด ร้อยละ 90 2.2 เด็กนักเรียนมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ มีความพึงพอใจต่อการร่วมกิจกรรมของโครงการ ร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 133
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 133
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ (พรพิทยาคม) มีความรู้ ความเข้าใจถึงโทษภัยของยาเสพติดที่มีต่อสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพโดยหลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติดและหันมาเล่นกีฬา (2) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ (พรพิทยาคม) มีสุขภาพการแข็งแรงและสุขภาพจิตดี (3) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ(พรพิทยาคม) ได้ออกกำลังกาย พัฒนาทักษะกีฬาและส่งเสริมความเป็นเลิศทางกีฬา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพติดต่อสุขภาพของเด็กและเยาวชน (2) พัฒนาทักษาทางกีฬาเปตอง (3) พัฒนาทักษากรีฑา (4) ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาทักษะกีฬาต้านยาเสพติด จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5268-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฑัยศิกานต์ญา เบณติยานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด