กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวรรธนะสาร ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางละอองทิพย์ จันทวิลาศ




ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวรรธนะสาร

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-2-04 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวรรธนะสาร จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวรรธนะสาร



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (2) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (3) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรรมทางกายที่เพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย (4) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน (5) เพื่อลดปริมาณขยะทั่วไปในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง จนเป็นวัฒะรรมองค์กร

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับสถานการณ์ท้าทายจากรอบด้านของเด็กวัยเรียน วัยรุ่น เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เด็กเกิดน้อยด้อยคุณภาพ ปัญหาแม่วัยรุ่นมีจำนวนมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทสู่สังคมเมือง ตลอดจนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสื่อสารทางสังคมออนไลน์ การเลียนแบบเพื่อทันยุคสมัยที่เน้นวัตถุนิยมมากกว่าจิตใจ จึงจำเป็นต้องเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้
    โรงเรียนเป็นสถานที่ส่งเสริมการเรียนรู้ควบคู่ไปกับสุขภาพตอบสนองความต้องการของนักเรียน การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยในโรงเรียน ส่งเสริมการจัดการ ควบคุม ป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ การเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ การใช้สารเสพติด และภัยคุกคามสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม เช่น ไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ เช่นโรคทางเดินอาหาร อุจจาระร่วง การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย ปลอดโรค เสริมสร้างพฤติกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อม และสุขอนามัยที่ดี
  โรงเรียนวรรธนะสาร ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสุขภาพ คุณภาพชีวิตของนักเรียนได้เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพร่างกายได้ถูกต้อง เรียนรู้การป้องกันโรคและภัยอันตรายใกล้ตัวต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับนักเรียนได้ อีกทั้งมีความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะทั้ง ๔ ประเภท (ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะเปียก และขยะอันตราย) สามารถคัดยกขยะได้ถูกต้องทั้งที่โรงเรียนและที่บ้านต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
  2. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  3. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรรมทางกายที่เพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย
  4. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  5. เพื่อลดปริมาณขยะทั่วไปในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้
  2. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 104
กลุ่มวัยทำงาน 13
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรรมทางกายที่เพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  4. เพื่อลดปริมาณขยะในโรงเรียนและชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 29 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรุ้
สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพ
การทำหลุมขยะเปียก การคัดแยกขยะแต่ละประเภท
การออกกำลังกายด้วยกีฬา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรุ้ ความเข้าใจใากกว่าร้อยละ 90 ปริมาณขยะลดลงมากกว่าร้อยละ 50
นักเรียนในโรงเรียนมีกิจกรรมทางกายมากขึ้น

 

117 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมดังนี้ 1. กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ - วิทยากรให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ - สาธิตการล้างมือที่ถูกวิธี -วิทยากรให้ความรู้ เรื่องสุขภาพดี ด้วยกีฬา
-สาธิตกีฬามวยไทย 2. ฐานการเรียนรู้การคัดแยกขยะ - วิทยากรให้ความรู้เรื่อง รู้จักขยะ และการจัดการขยะทั่วไป 3. ทางเลือกการจัดการขยะทั่วไป -สาธิตการทำน้ำหมักชีวิภาพ -สาธิตการทำหลุมขยะเปียก -ทำเสวีรยนเพื่อรวบรวมใบไม้
4.การให้ความรู้การจัดการขยะอันตรายและขยะรีไซเคิล 5. กิจกรรมเดินรณรงค์การคัดแยกขยะในหมู่บ้าน -กิจกรรมรับบริจาคขยะรีไซเคิล สรุปผลการดำเนินกิจกรรม 1.นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพฟัน กิจกรรมทางกายเพื่อให้เพียงพอในเด็กปฐมวัย เด็ก และวัยรุ่น 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการคัดแยกขยะได้ถูกต้อง 3. สามารถลดปริมาณขยะในครัวเรือน และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4. สื่อสารความรู้สู่บุคคลในครอบครัวได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดกรขยะมูลฝอย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
90.00 95.00

 

2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่น อายุ 5-12 ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง-มาก อย่างน้อย ๖๐นาทีต่อวัน)
85.00 80.00

 

3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรรมทางกายที่เพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กปฐมวัย อายุ ๒-๔ ปี มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย ๑๘๐ นาทีต่อวัน)
90.00 90.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมความรู้ ความเข้าใจมากกว่าร้อยละ ๘๐ (วัดจากแบบทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม)
80.00 90.00

 

5 เพื่อลดปริมาณขยะทั่วไปในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะทั่วไปที่ฝากไปกำจัดมีปริมาณลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 117 117
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 104 104
กลุ่มวัยทำงาน 13 13
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (2) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (3) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรรมทางกายที่เพียงพอสำหรับเด็กปฐมวัย (4) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน (5) เพื่อลดปริมาณขยะทั่วไปในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ควรมีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง จนเป็นวัฒะรรมองค์กร

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวรรธนะสาร จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5295-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางละอองทิพย์ จันทวิลาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด