เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายอัสลาน จันทร์ศิริ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน
ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-05 เลขที่ข้อตกลง 12/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2567 ถึง 20 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้ (3) อบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการสนับสนุนกิจกรรม การคัดกรอง และการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาโรคซึมเศร้า นับเป็นโรคหนึ่งที่สร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ป่วย เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะทำให้หมดกำลังใจ ท้อแท้ในชีวิต ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนและการทำงานลดลงอย่างชัดเจน ปัญหาภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญของประเทศ และเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อตัววัยรุ่น ครอบครัวและสังคม จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทย ที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้ความซึมเศร้าและความเครียดเกิดขึ้นได้ทุกแห่ง ทุกเวลา ความเครียดเป็นระบบเตือนภัยของร่างกาย ให้เตรียมพร้อมที่จะกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การที่มีความเครียดมากเกินไปหรือน้อยเกินไป จะไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งในกลุ่มเยาวชนมีความเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ครอบครัวและเศรษฐกิจ ทำให้วัยรุ่นเป็นวัยที่พบโรคความผิดปกติทางอารมณ์ได้บ่อย โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า ส่งผลให้มีความเครียด วิตกกังวล ทำให้เกิดความท้อแท้สิ้นหวัง เบื่อหน่าย ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตนเองลดลง มีภาวะซึมเศร้า ปัจจัยทางจิตและปัจจัยทางบุคลิกภาพส่งผลต่อประสิทธิภาพในการคิด การตัดสินใจ และการนำมาซึ่งพฤติกรรมเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าตัวตาย ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆของวัยรุ่นในประเทศไทย
สภาเด็กและเยาวชนตำบลป่าแก่บอ่หิน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาปัญหาภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญของประเทศ จึงจัดทำโครงการเยาวชนจิตแจ่มใส่ ใจเบิกบาน ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าและตระหนักถึงคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข และการดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคซึมเศร้าได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น
- แกนนำและนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้าได้
- สามารถลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ได้
- นักเรียนในโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์มีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้
วันที่ 5 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องโรคซึมเศร้าและการป้องกัน การจัดการ
- ประเมินภาวะซึมเศร้าในนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมนักเรียนมัธยมปลาย โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์จำนวน 200 คน
ประเมินภาวะซึมเศร้านักเรียน ไม่พบอาการซึมเศร้า
200
0
2. กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา
วันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการขอขยายเวลาในการทำกิจกรรม เป็นวันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 เวลา 9.00-16.00น.
กิจกรรมสันทนาการและให้ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
มีการจัดกลุ่มกิจกรรมการจัดการความรู้และารจัดการความเครียด /ความเสี่ยงซึมเศร้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม และมีการละลายพฤติกรรม
70
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ให้ความรู้และคัดกรองนักเรียนโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 200 คน
- แกนนำและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น ร้อยละ 80
- แกนนนำและนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้าได้ร้อยละ 80
- สามารถลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ เรื่องโรคซึมเศร้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 8๐
80.00
80.00
2
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนในโรงเรียนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมชมรมในโรงเรียนร้อยละ 100
100.00
80.00
3
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียน ไม่เกินร้อยละ 10
10.00
0.00
ยังไม่พบการเกิดภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
200
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้ (3) อบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการสนับสนุนกิจกรรม การคัดกรอง และการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอัสลาน จันทร์ศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายอัสลาน จันทร์ศิริ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-05 เลขที่ข้อตกลง 12/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2567 ถึง 20 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้ (3) อบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการสนับสนุนกิจกรรม การคัดกรอง และการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาโรคซึมเศร้า นับเป็นโรคหนึ่งที่สร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ป่วย เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะทำให้หมดกำลังใจ ท้อแท้ในชีวิต ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนและการทำงานลดลงอย่างชัดเจน ปัญหาภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญของประเทศ และเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อตัววัยรุ่น ครอบครัวและสังคม จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทย ที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทำให้ความซึมเศร้าและความเครียดเกิดขึ้นได้ทุกแห่ง ทุกเวลา ความเครียดเป็นระบบเตือนภัยของร่างกาย ให้เตรียมพร้อมที่จะกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การที่มีความเครียดมากเกินไปหรือน้อยเกินไป จะไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งในกลุ่มเยาวชนมีความเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ครอบครัวและเศรษฐกิจ ทำให้วัยรุ่นเป็นวัยที่พบโรคความผิดปกติทางอารมณ์ได้บ่อย โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า ส่งผลให้มีความเครียด วิตกกังวล ทำให้เกิดความท้อแท้สิ้นหวัง เบื่อหน่าย ความรู้สึกที่มีคุณค่าในตนเองลดลง มีภาวะซึมเศร้า ปัจจัยทางจิตและปัจจัยทางบุคลิกภาพส่งผลต่อประสิทธิภาพในการคิด การตัดสินใจ และการนำมาซึ่งพฤติกรรมเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าตัวตาย ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆของวัยรุ่นในประเทศไทย สภาเด็กและเยาวชนตำบลป่าแก่บอ่หิน ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาปัญหาภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญของประเทศ จึงจัดทำโครงการเยาวชนจิตแจ่มใส่ ใจเบิกบาน ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าและตระหนักถึงคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข และการดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคซึมเศร้าได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น
- แกนนำและนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้าได้
- สามารถลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ได้
- นักเรียนในโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์มีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 5 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมนักเรียนมัธยมปลาย โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์จำนวน 200 คน ประเมินภาวะซึมเศร้านักเรียน ไม่พบอาการซึมเศร้า
|
200 | 0 |
2. กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา |
||
วันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 12:30 น.กิจกรรมที่ทำมีการขอขยายเวลาในการทำกิจกรรม เป็นวันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 เวลา 9.00-16.00น. กิจกรรมสันทนาการและให้ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า มีการจัดกลุ่มกิจกรรมการจัดการความรู้และารจัดการความเครียด /ความเสี่ยงซึมเศร้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม และมีการละลายพฤติกรรม
|
70 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ให้ความรู้และคัดกรองนักเรียนโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 200 คน
- แกนนำและนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น ร้อยละ 80
- แกนนนำและนักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้าได้ร้อยละ 80
- สามารถลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนโรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ เรื่องโรคซึมเศร้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 8๐ |
80.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : นักเรียนในโรงเรียนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมชมรมในโรงเรียนร้อยละ 100 |
100.00 | 80.00 |
|
|
3 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์ ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียน ไม่เกินร้อยละ 10 |
10.00 | 0.00 | ยังไม่พบการเกิดภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเป้าหมาย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | 200 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าการป้องกันภาวะซึมเศร้า และการจัดการความเครียด (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนมีการจัดการกับความเครียดได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของนักเรียนในโรงเรียนทุ่งห้าวรวิทย์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้ (3) อบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมสันทนาการพร้อมให้ความรู้กับวงกัวลาบารา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการสนับสนุนกิจกรรม การคัดกรอง และการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เยาวชนจิตแจ่มใส ใส่ใจเบิกบาน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 67-L5295-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอัสลาน จันทร์ศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......