เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสนิท หนุดพวง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด
ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5268-02-13 เลขที่ข้อตกลง 20/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5268-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
เด็ก คือ อนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤตจากสถานการณ์ ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก และการหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เด็กรุ่นใหม่ หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น
ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคต และเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความสะเทือนใจและความเจ็บปวดให้กับผู้ปกครอง และปัญหาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักทรัพย์ การฉกชิงวิ่งราว และก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบันของตำบลม่วงงามกระจายสู่ครอบครัวและนำความเสี่ยงมาสู่เด็กเพิ่มมากขึ้น จึงมีความคิดเห็นว่าทุกภาคส่วนควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน หากปล่อยให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือหน่วยงานภาครัฐรับผิดชอบเพียงฝ่ายเดียวไม่พอ และจะทำให้ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จึงได้จัดโครงการ “เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด” เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจและโทษภัยของยาเสพติด ช่วยให้นักเรียนในตำบลม่วงงามได้รับการเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์
มีทักษะในการดูแลตนเองสามารถอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างมีความสุข และมีทักษะในด้านกีฬา เป็นแนวทางสำคัญที่ช่วยให้เด็กหลีกเลี่ยง
ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งจะทำให้ตำบลม่วงงามปลอดจากยาเสพตดในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงของหมู่ที่ 3 2.เพื่อเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและชุมชน 3.เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพ ติดต่อสุขภาพของเด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง และพัฒนาทักษาทางกีฬาฟุตบอล และ เปตอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้ไปยุ่งเกี่ยวกับ
ยาเสพติด
๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้แก่ตนเอง ครอบครัว ตลอดจนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
๓. เด็กได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์และเฝ้าระวังมิให้ยาเสพติดเข้ามาสู่ชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับสิ่งเสพติด แล้วเกิดความตระหนักของโทษของยาเสพติด และได้ฝึกทักษะกีฬาตามประเภทที่ตนเองชอบและถนัด ซึ่งภายหลังจากการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมเกิดการร่วมกลุ่มในการเล่นกีฬา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงของหมู่ที่ 3 2.เพื่อเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและชุมชน 3.เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1.เชิงปริมาณ
1.1) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง 40 คน มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงพิษภัยและห่างไกลสารเสพติดร้อยละ 100
1.2) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความสนใจกีฬา 40 คน มาฝึกทักษะกีฬาและออกกำลังกาย ร้อยละ 95
2.เชิงคุณภาพ
2.1) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีสุขนิสัยที่ดีในการเล่นกีฬาและออกกำลังกาย มีความรู้ความตระหนักถึงโทษของสารเสพติด
2.2) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์มีความพึงพอใจต่อการร่วมกิจกรรมของโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
20
กลุ่มวัยทำงาน
20
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงของหมู่ที่ 3 2.เพื่อเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและชุมชน 3.เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพ ติดต่อสุขภาพของเด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง และพัฒนาทักษาทางกีฬาฟุตบอล และ เปตอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5268-02-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสนิท หนุดพวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสนิท หนุดพวง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5268-02-13 เลขที่ข้อตกลง 20/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5268-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
เด็ก คือ อนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤตจากสถานการณ์ ปัญหายาเสพติดที่ได้เริ่มแพร่ระบาดและกำลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก และการหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน เป็นผลให้เด็กรุ่นใหม่ หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น
ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นอนาคต และเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด อีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความสะเทือนใจและความเจ็บปวดให้กับผู้ปกครอง และปัญหาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักทรัพย์ การฉกชิงวิ่งราว และก่อปัญหาอาชญากรรมอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สถานการณ์ยาเสพติดในปัจจุบันของตำบลม่วงงามกระจายสู่ครอบครัวและนำความเสี่ยงมาสู่เด็กเพิ่มมากขึ้น จึงมีความคิดเห็นว่าทุกภาคส่วนควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน หากปล่อยให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือหน่วยงานภาครัฐรับผิดชอบเพียงฝ่ายเดียวไม่พอ และจะทำให้ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จึงได้จัดโครงการ “เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด” เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจและโทษภัยของยาเสพติด ช่วยให้นักเรียนในตำบลม่วงงามได้รับการเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์
มีทักษะในการดูแลตนเองสามารถอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างมีความสุข และมีทักษะในด้านกีฬา เป็นแนวทางสำคัญที่ช่วยให้เด็กหลีกเลี่ยง
ไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งจะทำให้ตำบลม่วงงามปลอดจากยาเสพตดในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงของหมู่ที่ 3 2.เพื่อเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและชุมชน 3.เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพ ติดต่อสุขภาพของเด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง และพัฒนาทักษาทางกีฬาฟุตบอล และ เปตอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้ไปยุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติด ๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้แก่ตนเอง ครอบครัว ตลอดจนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ๓. เด็กได้มีส่วนร่วมในการรณรงค์และเฝ้าระวังมิให้ยาเสพติดเข้ามาสู่ชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับสิ่งเสพติด แล้วเกิดความตระหนักของโทษของยาเสพติด และได้ฝึกทักษะกีฬาตามประเภทที่ตนเองชอบและถนัด ซึ่งภายหลังจากการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมเกิดการร่วมกลุ่มในการเล่นกีฬา
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงของหมู่ที่ 3 2.เพื่อเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและชุมชน 3.เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตัวชี้วัด : 1.เชิงปริมาณ 1.1) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง 40 คน มีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึงพิษภัยและห่างไกลสารเสพติดร้อยละ 100 1.2) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความสนใจกีฬา 40 คน มาฝึกทักษะกีฬาและออกกำลังกาย ร้อยละ 95 2.เชิงคุณภาพ 2.1) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีสุขนิสัยที่ดีในการเล่นกีฬาและออกกำลังกาย มีความรู้ความตระหนักถึงโทษของสารเสพติด 2.2) เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์มีความพึงพอใจต่อการร่วมกิจกรรมของโครงการ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงของหมู่ที่ 3 2.เพื่อเฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดสู่เด็กและชุมชน 3.เพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักถึงโทษภัยยาเสพ ติดต่อสุขภาพของเด็ก เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสี่ยง และพัฒนาทักษาทางกีฬาฟุตบอล และ เปตอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เด็กและเยาวชนไทย ห่างไกลยาเสพติด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5268-02-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสนิท หนุดพวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......