โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 ”
ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L8013-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2567 ถึง 18 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8013-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2567 - 18 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5 – 14 ปี รองลงมาคือ เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี นับว่าเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยเรื่อยตลอดมา
โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน จะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมา ทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆจึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี เทศบาลตำบลรือเสาะ มีการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องเตรียมความพร้อมควบคุมจำกัดยุงลายก่อนจะถึงฤดูการ การระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไปปัจจัยการระบาดที่สำคัญ ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง การเพิ่มจำนวนประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากรและยุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของประชากรครั้งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นการคมนาคมที่สะดวกทั้งทางบกและทางอากาศ ทำให้มีการเดินทางมากขึ้น ทั้งภายในและต่างประเทศปัจจัยเหล่านี้ทำให้แพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่ เป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่งได้แก่การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกันหรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกได้อีกด้วย
ดังนั้น การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก วัด ชุมชน โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลรือเสาะและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการตั้งรับไปสู่นโยบายยุทธศาสตร์ การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของไข้เลือดออก พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกให้ทันท่วงที และเสริมสร้างศักยภาพมาตรการควบคุมโรคให้เข้มแข็งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที ๒. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ๓. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสียงในชุมชน โรงเรียน และวัดที่เป็นแหล่งโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
๒. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมโรคป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก
๓. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
4. มีกิจกรรมการรณรงค์การควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที ๒. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ๓. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสียงในชุมชน โรงเรียน และวัดที่เป็นแหล่งโรค
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 90 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ การควบคุมโรคไข้เลือดออก
๒. ร้อยละ 80 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ สร้างความตระหนักต่อการป้องกันโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพราะพันธุ์เสี่ยงในภาชนะ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที ๒. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ๓. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสียงในชุมชน โรงเรียน และวัดที่เป็นแหล่งโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L8013-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 ”
ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L8013-2-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 กรกฎาคม 2567 ถึง 18 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8013-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 กรกฎาคม 2567 - 18 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลรือเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5 – 14 ปี รองลงมาคือ เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี นับว่าเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยเรื่อยตลอดมา โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน จะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมา ทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆจึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี เทศบาลตำบลรือเสาะ มีการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องเตรียมความพร้อมควบคุมจำกัดยุงลายก่อนจะถึงฤดูการ การระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไปปัจจัยการระบาดที่สำคัญ ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง การเพิ่มจำนวนประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากรและยุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของประชากรครั้งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นการคมนาคมที่สะดวกทั้งทางบกและทางอากาศ ทำให้มีการเดินทางมากขึ้น ทั้งภายในและต่างประเทศปัจจัยเหล่านี้ทำให้แพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่ เป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่งได้แก่การที่พื้นที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกันหรือการติดเชื้อซ้ำซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกได้อีกด้วย ดังนั้น การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก วัด ชุมชน โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลรือเสาะและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการตั้งรับไปสู่นโยบายยุทธศาสตร์ การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของไข้เลือดออก พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกให้ทันท่วงที และเสริมสร้างศักยภาพมาตรการควบคุมโรคให้เข้มแข็งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที ๒. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ๓. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสียงในชุมชน โรงเรียน และวัดที่เป็นแหล่งโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ๒. ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมโรคป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก ๓. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4. มีกิจกรรมการรณรงค์การควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที ๒. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ๓. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสียงในชุมชน โรงเรียน และวัดที่เป็นแหล่งโรค ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 90 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ การควบคุมโรคไข้เลือดออก ๒. ร้อยละ 80 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ สร้างความตระหนักต่อการป้องกันโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพราะพันธุ์เสี่ยงในภาชนะ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันท่วงที ๒. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม ๓. เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสียงในชุมชน โรงเรียน และวัดที่เป็นแหล่งโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L8013-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิรัชยา เพ็ชรพิมล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......