กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง


“ โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ปีงบประมาณ 2567 ”

เขตเทศบาลตำบลตันหยง

หัวหน้าโครงการ
นายฟาคูรุลรอซี ยาแล

ชื่อโครงการ โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ เขตเทศบาลตำบลตันหยง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 006/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตเทศบาลตำบลตันหยง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตเทศบาลตำบลตันหยง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเกิดอุบัติเหตุกับเด็กสถิติข้อมูลจากสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ในการรับแจ้งทางเบอร์โทร ๑๖๖๙ เกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็ก ในปี ๒๕๖๕ พบว่ามีจำนวนทั้งหมด ๒๔,๙๓๓ ครั้ง จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการเจ็บป่วยฉุกเฉินในเด็กยังคงเป็นปัญหาที่เกิดได้เสมอ บางครั้งอาจเป็นเพียงอาการเล็กน้อยไม่รุนแรง บางครั้งก็เป็นอาการเจ็บป่วยขั้นรุนแรงและถึงขั้นเสียชีวิตได้ และเป็นไปได้ว่าอาการเจ็บป่วยฉุกเฉินในเด็กดังกล่าวอาจเกิดขึ้นในขณะที่เด็กอยู่ที่โรงเรียน การเตรียมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานโดยได้รับการถ่ายทอดจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่มีความรู้ ประสบการณ์และความชำนาญเป็นอย่างดี จึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งที่จะสามารถช่วยให้นักเรียนสามารถช่วยเหลือตนเองและสามารถช่วยเหลือคนรอบข้างได้อย่างถูกต้องในกรณีเจ็บป่วยเล็กน้อย หรือสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องและทันท่วงทีระหว่างการรอความช่วยเหลือจากผู้อื่น หรือระหว่างรอการส่งต่อโรงพยาบาลในกรณีการเจ็บป่วยขั้นรุนแรง ซึ่งความรู้ในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานนี้นั้นนอกจากนักเรียนจะสามารถนำไปใช้เมื่อเกิดอาการเจ็บป่วยกับตนเองและคนรอบข้างในโรงเรียน ยังสามารถนำไปใช้เมื่อตนเองหรือคนรอบข้างเกิดอาการเจ็บป่วยเมื่ออยู่ที่บ้านหรือในชุมชนต่อไปได้อีกด้วย (สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, ๒๕๖๖) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง จึงเล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานแก่เด็กนักเรียนในโรงเรียนมุสลิมพัฒนศาสตร์ จังหวัดปัตตานี เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างถูกวิธีก่อนถึงโรงพยาบาล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการฟื้นคืนชีพที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลและการฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินผล
  2. อบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 94
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และปฏิบัติเรื่องการปฐมพยาบและการช่วยฟื้นคืนชีพได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการฟื้นคืนชีพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลและการฟื้นคืนชีพเบื้องต้นที่ถูกต้อง

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลและการฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมรมีทักษะเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลและการฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้ถูกต้อง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 94
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการฟื้นคืนชีพที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลและการฟื้นคืนชีพเบื้องต้นได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินผล (2) อบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฟาคูรุลรอซี ยาแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด