โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2491-1-7 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2491-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นพัฒนาการตามปกติของครอบครัวเป็นช่วงที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม จึงถือได้ว่าเป็นภาวะวิกฤติตามวุฒิภาวะ ดังนั้นมารดาในระยะตั้งครรภ์จึงต้องเตรียมพร้อมทั้งร่างกายเพื่อการเจริญเติบโตของทารกและการปรับตัวของมารดาโดยจะได้รับการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการและหากสงสัยว่ามีความผิดปกติอื่นๆ เกิดขึ้นอาจได้รับการตรวจพิเศษตามมา ส่วนการเตรียมพร้อมทางด้านจิตใจ คือการได้รับความรู้ คำแนะนำต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์เพื่อลดความวิตกกังวลและเตรียมความพร้อมต่อการรับบทบาทการเป็นมารดาในขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ซึ่งความรู้ คำแนะนำในขณะตั้งครรภ์ประกอบด้วยการปฏิสนธิและพัฒนาการของทารกในครรภ์ การเปลี่ยนแปลงในระหว่างตั้งครรภ์ โภชนาการในระยะตั้งครรภ์ อาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ เป็นต้น
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอเหนือและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะปอม อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส จึงได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและการฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนทักษะความรู้ความเข้าใจรวมถึงการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องของมารดาในขณะที่มีการตั้งครรภ์ จึงได้จัดทำโครงการ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ขึ้น เพื่อให้มารดาและทารกมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคแทรกซ้อน
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอเหนือและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะปอม จึงขอเชิญหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ เข้าร่วมโครงการ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ประจำปี 2560 โดยเริ่มดำเนินการโครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงเดือนกันยายน 2560
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
- เพื่อลดภาวะซีดขณะใกล้คลอด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยาย สาธิตแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราจำนวนหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ > ร้อยละ 80
- อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 ร้อยละ < 10
- อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ขณะใกล้คลอด < ร้อยละ 10
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. บรรยาย สาธิตแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ
วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมเชิงปฏิบัติการ บรรยายเรื่องการตั้งครรภ์ การเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด เรื่องอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฎิบัติตัวระหว่างตั้งครรภ์ สาธิตตัวอย่างอาหาร การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน วัคซีนสำหรับหญิงตั้งครรภ์
130
130
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 130 คน จำแนกเป็น
1.หญิงตั้งครรภ์/สามีหรือผู้ดูแลในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลกะลุวอเหนือ จำนวน 40 คู่ รวม 80 คน
2.แกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1-13 ตำบลกะลุวอเหนือ จำนวน 50 คน
ระยะเวลาการอบรม/สถานที่
วันที่ 15-17 พฤษภาคม 2560 รวมระยะเวลา 3 วัน ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
กลวิธีการจัดอบรม
- บรรยาย สาธิต แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ โดยใช้ผู้เข้าอบรมเป็นศูนย์กลาง
- การประเมินผล ทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม สังเกตการมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมอบรม
สรุปการประเมินความรู้ ก่อน/หลัง การอบรม
จากแบบทดสอบ 130 ฉบับ ได้รับกลับคืน 93 ฉบับ ร้อยละ 71.54
การดำเนินการในขั้นต่อไป อสม.เฝ้าระวังติดตามภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบทุก 1 เดือน รายงานผลเจ้าหน้าที่ติดตามเฝ้าระวังในกรณีมีภาวะโลหิตจางและไม่มาฝากครรภ์ตามนัดหมาย การดำเนินโครงการสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
ปัญหา/อุปสรรค ระยะเวลาการอบรมหลายวัน (3วัน) กลุ่มเป้าหมายบางคนมีภารกิจ ซิ่งต้องปฏิบัติ ไม่สามารถอยู่ร่วมรับฟังการประชุมหรืออบรม ตลอดหลักสูตร เช่น ต้องรีบไปทำงานเพื่อเลี้ยงครอบครัว ดูแลบุตร หรือมีภารกิจที่ปฏิบัติ เช่น ไปรับบุตรหลานกลับจากโรงเรียน เป็นต้น
แนวทางแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่กลุ่มเป้าหมาย ทีมวิทยากรจะบรรจุเนื้อหาที่มีสาระสำคัญสูงสุดในช่วงที่กลุ่มเป้าหมายมีความพร้อม คือ ช่วงเช้า และอนุญาตให้นำบุตรหลานเข้ามาฟังการอบรมด้วยได้ แต่ต้องไม่รบกวนคนอื่น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : อัตราจำนวนหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อยอยุครรภ์ 12 สัปดาห์>ร้อยละ 80
2
เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่1 ร้อยละ < 10
3
เพื่อลดภาวะซีดขณะใกล้คลอด
ตัวชี้วัด : อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ขณะใกล้คลอด < ร้อยละ 10
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ (2) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ (3) เพื่อลดภาวะซีดขณะใกล้คลอด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยาย สาธิตแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2491-1-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2491-1-7 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2491-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นพัฒนาการตามปกติของครอบครัวเป็นช่วงที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม จึงถือได้ว่าเป็นภาวะวิกฤติตามวุฒิภาวะ ดังนั้นมารดาในระยะตั้งครรภ์จึงต้องเตรียมพร้อมทั้งร่างกายเพื่อการเจริญเติบโตของทารกและการปรับตัวของมารดาโดยจะได้รับการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการและหากสงสัยว่ามีความผิดปกติอื่นๆ เกิดขึ้นอาจได้รับการตรวจพิเศษตามมา ส่วนการเตรียมพร้อมทางด้านจิตใจ คือการได้รับความรู้ คำแนะนำต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์เพื่อลดความวิตกกังวลและเตรียมความพร้อมต่อการรับบทบาทการเป็นมารดาในขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ซึ่งความรู้ คำแนะนำในขณะตั้งครรภ์ประกอบด้วยการปฏิสนธิและพัฒนาการของทารกในครรภ์ การเปลี่ยนแปลงในระหว่างตั้งครรภ์ โภชนาการในระยะตั้งครรภ์ อาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ เป็นต้น
ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอเหนือและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะปอม อำเภอเมืองจังหวัดนราธิวาส จึงได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและการฝากครรภ์ตามเกณฑ์คุณภาพ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนทักษะความรู้ความเข้าใจรวมถึงการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องของมารดาในขณะที่มีการตั้งครรภ์ จึงได้จัดทำโครงการ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ขึ้น เพื่อให้มารดาและทารกมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคแทรกซ้อน
ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอเหนือและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะปอม จึงขอเชิญหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ เข้าร่วมโครงการ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ประจำปี 2560 โดยเริ่มดำเนินการโครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงเดือนกันยายน 2560
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
- เพื่อลดภาวะซีดขณะใกล้คลอด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- บรรยาย สาธิตแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 80 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราจำนวนหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ > ร้อยละ 80
- อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 ร้อยละ < 10
- อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ขณะใกล้คลอด < ร้อยละ 10
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. บรรยาย สาธิตแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมเชิงปฏิบัติการ บรรยายเรื่องการตั้งครรภ์ การเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด เรื่องอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์ แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฎิบัติตัวระหว่างตั้งครรภ์ สาธิตตัวอย่างอาหาร การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน วัคซีนสำหรับหญิงตั้งครรภ์
|
130 | 130 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 130 คน จำแนกเป็น 1.หญิงตั้งครรภ์/สามีหรือผู้ดูแลในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 1-13 ตำบลกะลุวอเหนือ จำนวน 40 คู่ รวม 80 คน 2.แกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1-13 ตำบลกะลุวอเหนือ จำนวน 50 คน ระยะเวลาการอบรม/สถานที่ วันที่ 15-17 พฤษภาคม 2560 รวมระยะเวลา 3 วัน ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส กลวิธีการจัดอบรม - บรรยาย สาธิต แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติ โดยใช้ผู้เข้าอบรมเป็นศูนย์กลาง - การประเมินผล ทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม สังเกตการมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมอบรม สรุปการประเมินความรู้ ก่อน/หลัง การอบรม จากแบบทดสอบ 130 ฉบับ ได้รับกลับคืน 93 ฉบับ ร้อยละ 71.54 การดำเนินการในขั้นต่อไป อสม.เฝ้าระวังติดตามภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ในเขตรับผิดชอบทุก 1 เดือน รายงานผลเจ้าหน้าที่ติดตามเฝ้าระวังในกรณีมีภาวะโลหิตจางและไม่มาฝากครรภ์ตามนัดหมาย การดำเนินโครงการสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ ปัญหา/อุปสรรค ระยะเวลาการอบรมหลายวัน (3วัน) กลุ่มเป้าหมายบางคนมีภารกิจ ซิ่งต้องปฏิบัติ ไม่สามารถอยู่ร่วมรับฟังการประชุมหรืออบรม ตลอดหลักสูตร เช่น ต้องรีบไปทำงานเพื่อเลี้ยงครอบครัว ดูแลบุตร หรือมีภารกิจที่ปฏิบัติ เช่น ไปรับบุตรหลานกลับจากโรงเรียน เป็นต้น แนวทางแก้ไข เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่กลุ่มเป้าหมาย ทีมวิทยากรจะบรรจุเนื้อหาที่มีสาระสำคัญสูงสุดในช่วงที่กลุ่มเป้าหมายมีความพร้อม คือ ช่วงเช้า และอนุญาตให้นำบุตรหลานเข้ามาฟังการอบรมด้วยได้ แต่ต้องไม่รบกวนคนอื่น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัด : อัตราจำนวนหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อยอยุครรภ์ 12 สัปดาห์>ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่1 ร้อยละ < 10 |
|
|||
3 | เพื่อลดภาวะซีดขณะใกล้คลอด ตัวชี้วัด : อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ขณะใกล้คลอด < ร้อยละ 10 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 80 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์ (2) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ (3) เพื่อลดภาวะซีดขณะใกล้คลอด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยาย สาธิตแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L2491-1-7
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......