directions_run
โครงการเด็กปันจอร์ฟันสวย ยิ้มสดใส
ชื่อโครงการ | โครงการเด็กปันจอร์ฟันสวย ยิ้มสดใส |
รหัสโครงการ | 67-L8407-02-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านปันจอร์ |
วันที่อนุมัติ | 27 มิถุนายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2567 - 20 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 25 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 15,030.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางปาริชาติ อุเจะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียนบ้านปันจอร์ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ค. 2567 | 20 ก.ย. 2567 | 15,030.00 | |||
2 | 0.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 15,030.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 147 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ | 60.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ |
60.00 | 100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 15,030.00 | 0 | 0.00 | 15,030.00 | |
1 ก.ค. 67 - 20 ก.ย. 67 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิตการแปรงฟัน | 0 | 15,030.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 15,030.00 | 0 | 0.00 | 15,030.00 |
๑. นักเรียนชั้น ป.๒-๔ โรงเรียนบ้านปันจอร์ แปรงฟันหลังอาหารเที่ยงอย่างถูกวิธีครบ ๑๐๐ % 2. สุขภาพในช่องปากของนักเรียนได้รับการดูแล แก้ไขปัญหาตามระดับของแต่ละคน 3. นักเรียนได้ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพในช่องปากของนักเรียนและสามารรถกวดขันการดูแลสุขภาพในช่องปากและฟันของตนเองเพิ่มขึ้น ๔. นักเรียนได้ตระหนักและทราบแนวทางในการเลือกซื้ออาหารว่างและเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายของตนเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2567 00:00 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ