กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสุรพร จันทร์แก้ว




ชื่อโครงการ โครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5218-3-01 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 25 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองแดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและผู้ปกครองใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย 3.เพื่อส่งเสริมให้ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4.เพื่อตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยและบุคลากรอย่างเคร่งครัดและเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัย 5.เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยการค้นหาหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ผลการดำเนินการโครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยผลการดำเนินการที่ได้รับ คือ กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 มีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองได้รับการกระตุ้นให้ใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย มีสุขภาพที่แข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองอย่างเคร่งครัด มากกว่าร้อยละ 70 และกลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญของประเทศชาติ ในการที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคง เด็กทุกคนควรได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัวชุมชนและรัฐเพื่อส่งเสริมมาให้เด็กๆเหล่านั้นได้รับการศึกษาที่รัฐจัดให้ ได้รับการพัฒนาในด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิตเป็นรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กประถมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก ครู ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีบทบาทสำคัญควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพทางด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม ได้รับการฝึกอบรมเพื่อสามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น ทำให้เกิดความร่วมมือกัน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์เด็กเล็กปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ ทั้งป้องกันควบคุม โรคมือเท้าปาก ในช่วงระบาดซึ่งพบว่ามีผู้ป่วยจำนวนมากกลุ่มอายุ 0-6 ปี ส่วนใหญ่อยู่ในความดูแลของสถานรับเลี้ยงเด็กหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเสี่ยงต่อการป่วย และการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไปสู่เด็กคนอื่นๆได้ง่าย การดูแลสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีต้องเริ่มต้นที่กลุ่มเด็กประถมวัยแรกเกิด ถึง 6 ปี เนื่องจากช่วงวัยนี้เป็นช่วงวัยแห่งโอกาสของการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถ หากปล่อยให้ช่วงเวลาของวัยดังกล่าวล่วงเลยไปการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถจะทำได้ลำบาก ดังนั้นการดูแลส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยจึงเป็นการลงทุนที่ดีที่สุด เพื่อการมีประชาชนที่มีคุณภาพ ลดภาระปัญหาสุขภาพกาย และสุขภาพจิต รวมถึงลดปัญหาทางสังคมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต งานพัฒนาการจึงเป็นประเด็นหลักสำหรับกลุ่มวัยนี้การพัฒนาเด็กประถมวัยเพื่อนำไปสู่การพัฒนาทักษะทางสมอง ทักษะการคิดวิเคราะห์ และทักษะทางสังคมที่เหมาะสม ล้วนมาจากการมีต้นทุนทางการพัฒนาการที่ดีด้วยการเฝ้าระวัง ประเมิน และส่งเสริมพัฒนาการอย่างสม่ำเสมอทุกช่วงระดับอายุ แต่จากการสำรวจพัฒนาการเด็กประถมวัยที่ผ่านมา ยังคงพบเด็กประถมวัยร้อยละ 30 หรือ 1 ใน 3 มีพัฒนาการล่าช้า โดยเฉพาะพัฒนาการด้านการใช้ภาษา และกล้ามเนื้อมัดเล็ก (กรมอนามัย, 2557) ขณะเดียวกันพบว่าพ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก ซึ่งถือเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในชุมชนให้ความสำคัญในการมีส่วนร่วม เตรียมความพร้อมของเด็กด้านพัฒนาการ เพื่อเข้าสู่ระบบโรงเรียนเพียงร้อยละ 20 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2555) ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 66 และมาตรา 67 (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (10) และมาตรา 17 (27) กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการสังคมสงเคราะห์ และพัฒนาการคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส ซึ่งสอดคล้องกับการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการเสริมสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องของด้านกลุ่มเด็กเล็กและก่อนวัยเรียน ในการนี้กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการตรวจสุขภาพเด็ก และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กประถมวัยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัย และการรู้จักการดูแลสุขภาพร่างกายได้ด้วยตนเอง เพื่อเสริมสร้างทักษะทางการส่งเสริมสุขภาพ และการพัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทั้ง 3 แห่ง เพื่อให้เด็กประถมวัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ และพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัย เตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา อย่างเหมาะสมตามวัย อันเป็นพื้นฐานสำคัญของการเจริญเติบโตอย่างเหมาะสมตามวัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อกระตุ้นให้เด็กและผู้ปกครองใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ และป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยและบุคลากรอย่างเคร่งครัดและเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก
  5. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจและใส่ใจในการดูแลสุขภาพเด็กเพิ่มขึ้นโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีเป็นต้นแบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 48
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย 2. กระตุ้นให้เด็กและผู้ปกครองใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย 3. ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ และป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4. ได้ตรวจคัดกรองสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยและบุคลากรอย่างเคร่งครัดและเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก 5. ผู้ปกครองหันมาสนใจและใส่ใจในการดูแลสุขภาพเด็กเพิ่มขึ้นโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีเป็นต้นแบบ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยผลการดำเนินการที่ได้รับ คือ กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 มีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองได้รับการกระตุ้นให้ใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย มีสุขภาพที่แข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองอย่างเคร่งครัด มากกว่าร้อยละ 70 และกลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 ขึ้นไป

     

    2 เพื่อกระตุ้นให้เด็กและผู้ปกครองใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการกระตุ้นให้ใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย ร้อยละ 80 ขึ้นไป

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ และป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้ และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆ และป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

     

    4 เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยและบุคลากรอย่างเคร่งครัดและเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็ก
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพอย่างเคร่งครัด ร้อยละ 70 ขึ้นไป

     

    5 เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจและใส่ใจในการดูแลสุขภาพเด็กเพิ่มขึ้นโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีเป็นต้นแบบ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจและใส่ใจในการดูแลสุขภาพเด็กเพิ่มขึ้นโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีเป็นต้นแบบ ร้อยละ 70 ขึ้นไป

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 87
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39 39
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 48 48
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย 2.เพื่อกระตุ้นให้เด็กและผู้ปกครองใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย 3.เพื่อส่งเสริมให้ครู เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4.เพื่อตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยและบุคลากรอย่างเคร่งครัดและเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัย 5.เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยการค้นหาหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบ ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ ผลการดำเนินการโครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยผลการดำเนินการที่ได้รับ คือ กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 มีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆที่มักพบในเด็กปฐมวัย ผู้ปกครองได้รับการกระตุ้นให้ใส่ใจต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย มีสุขภาพที่แข็งแรง มีความรู้และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันด้านสุขอนามัยต่างๆและป้องกันควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองอย่างเคร่งครัด มากกว่าร้อยละ 70 และกลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดีมาเป็นต้นแบบ

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการตรวจสุขภาพเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L5218-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุรพร จันทร์แก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด