โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลดอรอพา สูแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-05 เลขที่ข้อตกลง 67-02-05
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4127-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในปัจจุบันเกิดการกระทำกิจกรรมของมนุษย์ที่ได้กระทำมาตั้งแต่เริ่มปฏิวัติ อุตสหกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพและการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพและการใช้ทรัพยากรไม่เกิดประโยชน์สูงสุดจึงทำให้ทรัพยากรลดลงอย่างรวดเร็วการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ผลกระทบส่วนใหญ่ที่มีผลต่อมนุษย์และสังคมได้แก่ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาน้ำท่วมและปัญหาภาวะโลกร้อนอีกทั้งการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันมีความรับเร่งในการทำมาหากินเพื่อความอยู่รอดทำให้เกิดการละเลยอาใจใส่ในการเลือกผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวันส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐานและผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและขาดความตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าซึ่งนอกจากจะทำให้เกิดอันตรายต่ออชีวิตแล้ว ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตราฐานบางชนิดยังเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วยดังนั้นจึงมีการจัดโครงการปลูกจิตสำนึกในกลุ่มนักเรียน "วัยใส ใสใจสิ่งแวดล้อม ลดโลกร้อนด้วยมือเรา" การอนุรักษ์พลังงานรักษาสิ่งแวดล้อม จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน การจัดทำโครงการ"วัยใส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ลดโลกร้อนด้วยมือเรา" ของกลุ่มนักเรียนในพื้นที่เพื่อให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อคุณภาพชีวิต ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ทำให้ฝ่ายเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินโครงการนี้เพื่อปลูกฝั่งพฤติกรรมการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยกรให้เกิดประโยชน์สูงสุด การอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดของนักเรียนในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
- เพื่อให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน
- เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน
- เพื่อพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร
- เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเตรียม/วางแผน(P)
- การดำเนินงานตามแผน (D)
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจากต้นทาง จำนวน 2 วัน
- กิจกรรมจัดทำประโยชน์ต่อชุมชนโดยการเก็บขยะรักษาความสะอาด และกิจกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนได้รับความรู้ด้นสุขภาพอนามัย และสามารถพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ
- เยาวชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง ถูกสุขลักษณ
- เยาวชนสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
- เยาวชนสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
75.00
85.00
2
เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
65.00
85.00
3
เพื่อให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน
80.00
4
เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน
80.00
5
เพื่อพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร
85.00
6
เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (3) เพื่อให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน (4) เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน (5) เพื่อพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร (6) เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียม/วางแผน(P) (2) การดำเนินงานตามแผน (D) (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจากต้นทาง จำนวน 2 วัน (4) กิจกรรมจัดทำประโยชน์ต่อชุมชนโดยการเก็บขยะรักษาความสะอาด และกิจกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลดอรอพา สูแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลดอรอพา สูแว
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-05 เลขที่ข้อตกลง 67-02-05
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4127-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดในปัจจุบันเกิดการกระทำกิจกรรมของมนุษย์ที่ได้กระทำมาตั้งแต่เริ่มปฏิวัติ อุตสหกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพและการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพและการใช้ทรัพยากรไม่เกิดประโยชน์สูงสุดจึงทำให้ทรัพยากรลดลงอย่างรวดเร็วการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ผลกระทบส่วนใหญ่ที่มีผลต่อมนุษย์และสังคมได้แก่ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาน้ำท่วมและปัญหาภาวะโลกร้อนอีกทั้งการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันมีความรับเร่งในการทำมาหากินเพื่อความอยู่รอดทำให้เกิดการละเลยอาใจใส่ในการเลือกผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวันส่งผลให้เกิดความเสี่ยงในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐานและผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและขาดความตระหนักในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าซึ่งนอกจากจะทำให้เกิดอันตรายต่ออชีวิตแล้ว ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้มาตราฐานบางชนิดยังเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วยดังนั้นจึงมีการจัดโครงการปลูกจิตสำนึกในกลุ่มนักเรียน "วัยใส ใสใจสิ่งแวดล้อม ลดโลกร้อนด้วยมือเรา" การอนุรักษ์พลังงานรักษาสิ่งแวดล้อม จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมปัจจุบัน การจัดทำโครงการ"วัยใส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ลดโลกร้อนด้วยมือเรา" ของกลุ่มนักเรียนในพื้นที่เพื่อให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อคุณภาพชีวิต ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ทำให้ฝ่ายเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินโครงการนี้เพื่อปลูกฝั่งพฤติกรรมการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยกรให้เกิดประโยชน์สูงสุด การอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดของนักเรียนในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
- เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
- เพื่อให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน
- เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน
- เพื่อพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร
- เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเตรียม/วางแผน(P)
- การดำเนินงานตามแผน (D)
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจากต้นทาง จำนวน 2 วัน
- กิจกรรมจัดทำประโยชน์ต่อชุมชนโดยการเก็บขยะรักษาความสะอาด และกิจกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนได้รับความรู้ด้นสุขภาพอนามัย และสามารถพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ
- เยาวชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะอย่างถูกต้อง ถูกสุขลักษณ
- เยาวชนสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
- เยาวชนสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ |
75.00 | 85.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า |
65.00 | 85.00 |
|
|
3 | เพื่อให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน |
80.00 |
|
||
4 | เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน |
80.00 |
|
||
5 | เพื่อพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร ตัวชี้วัด : ร้อยละของการพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร |
85.00 |
|
||
6 | เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน |
70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (3) เพื่อให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสะอาด หมู่บ้าน สิ่งสาธารณประโยชน์ แลสร้างความสวยงานในท้องถิ่น รักษาความสะอาดเรียบร้อยในชุมชน (4) เพื่อสร้างจิตสำนึกรับผิดชอบสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน (5) เพื่อพัฒนาตำบลท้องถิ่นให้เป็นเมืองสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย เอื้อต่อการอยู่อาศัย และการดำรงชีพที่ดีของประชากร (6) เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและสร้างทัศนียภาพที่สวยงามในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียม/วางแผน(P) (2) การดำเนินงานตามแผน (D) (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะจากต้นทาง จำนวน 2 วัน (4) กิจกรรมจัดทำประโยชน์ต่อชุมชนโดยการเก็บขยะรักษาความสะอาด และกิจกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเด็กและเยาวชน วัยใส ใสใจ รักษโลก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลดอรอพา สูแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......