กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการละเล่นพื้นบ้าน ใส่ใจสุขภาพเด็กและเยาวชน
รหัสโครงการ 67-L4127-02-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเยาวชนร่วมพัฒนาหมู่บ้านบียอ
วันที่อนุมัติ 8 พฤศจิกายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2567
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอามีเนาะ มะมิง
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวคอลีเย๊าะ ชูมุง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
85.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
75.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
65.00
4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
75.00
5 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
85.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพเป็นสิ่งจำเป็นและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อคุณภาพของประชากรในอนาคตโดยเฉพาะเด็ก 6 - 12 ปี เป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกายอย่างรวดเร็ว หากได้รับการเลี้ยงดูอย่างถูกต้อง เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับเด็กในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ทางกลุ่มเยาวชนร่วมพัฒนาหมู่บ้านบียอ เห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรมเด็กและเยาวชน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและเยาวชนในทุกด้านการให้เด็กและเยาวชนได้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น และเห็นความสำคัญของการละเล่นพื้นบ้านที่นอกจากจะทำให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินแล้ว ยังช่วยให้เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายใช้อวัยวะต่างๆ ออกกำลังกายและเป็นการช่วยปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม จึงได้จัดทำโครงการการละเล่นพื้นบ้าน ใส่ใจสุขภาพเด็กและเยาวชนขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

85.00 90.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

75.00 85.00
3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

65.00 80.00
4 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

75.00 85.00
5 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

85.00 95.00
6 เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีพัฒนาการสมวัยโดยใช้การละเล่นไทยเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม

ร้อยละของเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีพัฒนาการสมวัยโดยใช้การละเล่นไทยเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม

85.00
7 ผู้ปกครองเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีความรู้ความเข้า และความสำคัญของกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและเยาวชน

ร้อยละของผู้ปกครองเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีความรู้ความเข้า และความสำคัญของกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและเยาวชน

75.00
8 เด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ รู้จักและเล่นการละเล่นพื้นบ้านท้องถิ่นของตนทำให้เกิดความรักความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและช่วยกันอนุรักษ์ไว้

ร้อยละของเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ รู้จักและเล่นการละเล่นพื้นบ้านท้องถิ่นของตนทำให้เกิดความรักความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและช่วยกันอนุรักษ์ไว้

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67ต.ค. 67พ.ย. 67ธ.ค. 67
1 การเตรียม/วางแผน(P)(1 พ.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 0.00                
2 การดำเนินงานตามแผน (D)(1 พ.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 30,000.00                
3 การประเมิน / รายงานผล (A)(1 ก.ย. 2567-30 ธ.ค. 2567) 0.00                
รวม 30,000.00
1 การเตรียม/วางแผน(P) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 การดำเนินงานตามแผน (D) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 300 30,000.00 0 0.00
1 พ.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมอบรมให้ความรู้และทำอุปกรณ์การละเล่นไทยใส่ใจสุขภาพ 150 27,000.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 จัดกิจกรรมการละเล่นไทยใส่ใจสุขภาพเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ 150 3,000.00 -
3 การประเมิน / รายงานผล (A) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 150 0.00 0 0.00
1 พ.ค. 67 - 30 ธ.ค. 67 ๑. ทดสอบสมรรถภาพทางกายของเด็กและเยาวชน หลังเข้าร่วมโครงการ 150 0.00 -

วิธีดำเนินการ การเตรียม/วางแผน(P) 1. เสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบาเจาะ 2. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้าร่วมโครงการ 3. อบรมให้ความรู้และทำอุปกรณ์การละเล่นไทยใส่ใจสุขภาพ 4. การละเล่นไทยใส่ใจสุขภาพเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ 5. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย 6. สรุปและประเมินผลโครงการ การดำเนินงานตามแผน (D) 1. ประชุมคณะทำงาน ประชาสัมพันธ์ จัดเตรียมสถานที่ (การละเล่นไทยใส่ใจสุขภาพ) 2. อบรมให้ความรู้และทำอุปกรณ์การละเล่นไทยใส่ใจสุขภาพ 3. การละเล่นไทยใส่ใจสุขภาพเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ - กระโดดเชือก - เดินกะลา - ตีลูกล้อ - ชักเย่อ - วิ่งกระสอบ - กรอกน้ำใส่ขวด 4. กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะมีการพัฒนาการสมวัยโดยใช้การละเล่นพื้นบ้านเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม
  2. ผู้ปกครองของเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ ได้มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ
  3. เด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ ได้รู้จักการละเล่นพื้นบ้าน ทำให้เกิดความรัก ความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ