กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
85.00 90.00

 

 

 

2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
75.00 85.00

 

 

 

3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
65.00 80.00

 

 

 

4 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
75.00 85.00

 

 

 

5 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
85.00 95.00

 

 

 

6 เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีพัฒนาการสมวัยโดยใช้การละเล่นไทยเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีพัฒนาการสมวัยโดยใช้การละเล่นไทยเป็นสื่อในการจัดกิจกรรม
85.00

 

 

 

7 ผู้ปกครองเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีความรู้ความเข้า และความสำคัญของกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ มีความรู้ความเข้า และความสำคัญของกิจกรรมทางกายโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กและเยาวชน
75.00

 

 

 

8 เด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ รู้จักและเล่นการละเล่นพื้นบ้านท้องถิ่นของตนทำให้เกิดความรักความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและช่วยกันอนุรักษ์ไว้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนตำบลบาเจาะ รู้จักและเล่นการละเล่นพื้นบ้านท้องถิ่นของตนทำให้เกิดความรักความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาท้องถิ่นและช่วยกันอนุรักษ์ไว้
80.00