กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ กิจกรรมทางกายเพียงพอด้วยการฟ้อนมองเซิง ชุมชนบ้านดอนแก้ว
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการชุมชนบ้านดอนแก้ว
วันที่อนุมัติ 1 กรกฎาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 35,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 7 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 6 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 17 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การออกกำลังกายเป็นการลงทุนอันทรงพลังด้านสุขภาพ การศึกษา เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม การส่งเสริมการออกกำลังกายให้ประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อสุขภาพของประชาชนรวมถึงการศึกษาเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม การออกกำลังกาย นำไปสู่การเติบโตและพัฒนาการทางสังคมที่ดีของเด็กรวมถึงการเรียนรู้และสมาธิ อีกทั้งช่วยลดความเสี่ยงจากโรคเรื้อรังและช่วยพัฒนาสุขภาพจิตของผู้ใหญ่และช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(Non-Communicable Diseases :NCDs) ได้แก่ เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือดและกลุ่มโรคมะเร็งโดยพบว่าการขาดกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายส่งผลให้เกิดการเสียชีวิต 3.2 ล้านคนต่อปีของทั้งโลก โดยคนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังถึงร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมดโดยการมีกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต 11,129 รายและก่อภาระค่าใช้จ่ายทางสุขภาพ
จากข้อมูลการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย พบว่ามีผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 4 คน มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 2 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 7 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 10 คนกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองน่านได้ให้ความสนใจการออกกำลังกายด้วยการฟ้อนมองเซิง และคาดหวังว่าจะเป็นการออกกำลังกายที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ชุมชนบ้านดอนแก้วได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอด้วยการฟ้อนมองเชิงในประชาชนชุมชนดอนแก้ว

ร้อยละของประชาชนชุมชนดอนแก้วเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

81.68 85.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 35,000.00 0 0.00
5 ก.ค. 67 ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ 0 600.00 -
10 ก.ค. 67 อบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอแต่ละกลุ่มวัย ทักาะการดูแลสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการฟ้อนมองเชิง 0 14,900.00 -
13 - 17 ก.ค. 67 ฝึกซ้อมแกนนำฟ้อนมองเชิง 0 15,000.00 -
17 ก.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 สมาชิกกลุ่มร่วมการฟ้อนมองเชิง ในสวนสาธารณะร่วมกันอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3ครั้งๆละ 45-60นาที 0 0.00 -
26 ส.ค. 67 ประชุมคณะทำงานติดตามประเมินผลและสรุปผล 0 4,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายในชุมชนบ้านดอนแก้ว มีทักษะในการดูแลสุขภาพและเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกับวัยและค่า BMI เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2567 00:34 น.