โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซับรี จะจ้า
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-10 เลขที่ข้อตกลง 67-02-10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4127-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากนโยบายของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี ภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ "รวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อคนไทย เพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง" โดยมีวัตถุประสงค์ให้ทุกภาคมีส่วนร่วมดำเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ใช้พื้นที่เป็นพื้นฐาน บูรณาการทุกภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้ และเน้นการมีส่วนร่วม สื่อสาธารณะ สร้างความสามัคคีและความแข็งแรงทางจิตใจ มีสำนึกสาธารณะ นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายที่สำคัญของมิติทางกายคือให้ประชาชน อายุ ๖ ปี ขึ้นไปเคลื่อนไหวออกแรงกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อสุขภาพ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้ตอบสนองนโยบายดังกล่าว การส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา จะทำให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจสดชื่น ดังคำกล่าว ที่ว่าจิตใจที่งดงามย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง (Sound mind in soond boby) แสดงว่าร่างกายกับจิตใจมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ร่างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบานหรือในทางกลับกัน ถ้าจิตใจที่เข้มแข็ง จะเกิดพลังหรือกำลังใจทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น กลุ่มเพื่อนสุขภาพบ้านจือริใน เห็นความสำคัญของการส่งเสริมการออกกำลังกายดังกล่าว จึงได้ "จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ" ขึ้น เพื่อพัฒนาเด็กและและเยาวชนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่มุ่งเน้นให้มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
- เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเตรียม/วางแผน(P)
- การดำเนินงานตามแผน (D)
- การประเมิน / รายงานผล (A)
- อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง/ประเมินความรู้ก่อนหลัง/ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
- จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติออกกำลังกายเล่นกีฬาแต่ละประเภทกีฬา(ภาคปฏิบัติ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะและเยาวชนใกล้เคียงได้ออกกำลังกายทุกวัน
- เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะมีสุขภาพแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีรูปร่างสมส่วน
- เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และได้ห่างไกลยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
75.00
80.00
2
เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
65.00
85.00
3
เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
85.00
90.00
4
เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
85.00
90.00
5
เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
85.00
90.00
6
เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของเด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
70.00
7
เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของเด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
80.00
8
เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของเด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด
70.00
9
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกาย
85.00
10
เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น
ตัวชี้วัด : 5. มีแหล่งออกกำลังกายในชุมชน
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (4) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (6) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์ (7) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (8) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด (9) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย (10) เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียม/วางแผน(P) (2) การดำเนินงานตามแผน (D) (3) การประเมิน / รายงานผล (A) (4) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง/ประเมินความรู้ก่อนหลัง/ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (5) จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติออกกำลังกายเล่นกีฬาแต่ละประเภทกีฬา(ภาคปฏิบัติ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซับรี จะจ้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายซับรี จะจ้า
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-10 เลขที่ข้อตกลง 67-02-10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4127-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากนโยบายของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี ภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ "รวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อคนไทย เพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง" โดยมีวัตถุประสงค์ให้ทุกภาคมีส่วนร่วมดำเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ใช้พื้นที่เป็นพื้นฐาน บูรณาการทุกภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้ และเน้นการมีส่วนร่วม สื่อสาธารณะ สร้างความสามัคคีและความแข็งแรงทางจิตใจ มีสำนึกสาธารณะ นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายที่สำคัญของมิติทางกายคือให้ประชาชน อายุ ๖ ปี ขึ้นไปเคลื่อนไหวออกแรงกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อสุขภาพ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้ตอบสนองนโยบายดังกล่าว การส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา จะทำให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจสดชื่น ดังคำกล่าว ที่ว่าจิตใจที่งดงามย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง (Sound mind in soond boby) แสดงว่าร่างกายกับจิตใจมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ร่างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบานหรือในทางกลับกัน ถ้าจิตใจที่เข้มแข็ง จะเกิดพลังหรือกำลังใจทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น กลุ่มเพื่อนสุขภาพบ้านจือริใน เห็นความสำคัญของการส่งเสริมการออกกำลังกายดังกล่าว จึงได้ "จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ" ขึ้น เพื่อพัฒนาเด็กและและเยาวชนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่มุ่งเน้นให้มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
- เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
- เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
- เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การเตรียม/วางแผน(P)
- การดำเนินงานตามแผน (D)
- การประเมิน / รายงานผล (A)
- อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง/ประเมินความรู้ก่อนหลัง/ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
- จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติออกกำลังกายเล่นกีฬาแต่ละประเภทกีฬา(ภาคปฏิบัติ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะและเยาวชนใกล้เคียงได้ออกกำลังกายทุกวัน
- เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะมีสุขภาพแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีรูปร่างสมส่วน
- เด็กและเยาวชน ประชาชนในพื้นที่ตำบลบาเจาะได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และได้ห่างไกลยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) |
75.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
65.00 | 85.00 |
|
|
3 | เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน |
85.00 | 90.00 |
|
|
4 | เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน |
85.00 | 90.00 |
|
|
5 | เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน |
85.00 | 90.00 |
|
|
6 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของเด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์ |
70.00 |
|
||
7 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของเด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ |
80.00 |
|
||
8 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของเด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด |
70.00 |
|
||
9 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้ออกกำลังกาย |
85.00 |
|
||
10 | เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น ตัวชี้วัด : 5. มีแหล่งออกกำลังกายในชุมชน |
70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (3) เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (4) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน (6) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกาย และเล่นกีฬาเพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์ (7) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนตระหนักถึงการส่งเสริมสุขภาพและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกาย โดยใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (8) เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการฯมีภูมิคุ้มกันในตนเองให้ห่างไกลสิ่งเสพติด (9) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย (10) เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียม/วางแผน(P) (2) การดำเนินงานตามแผน (D) (3) การประเมิน / รายงานผล (A) (4) อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง/ประเมินความรู้ก่อนหลัง/ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ (5) จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติออกกำลังกายเล่นกีฬาแต่ละประเภทกีฬา(ภาคปฏิบัติ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการสร้างทักษะกีฬาและการออกกำลังกายตำบลบาเจาะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซับรี จะจ้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......