โครงการการประเมินภาวะโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการการประเมินภาวะโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน |
รหัสโครงการ | L4161-03-08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้าน บาโงย |
วันที่อนุมัติ | 22 มกราคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 22,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.473,101.349place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 22,500.00 | |||
รวมงบประมาณ | 22,500.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 57 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ.2545ระบุความหมายของการจัดการศึกษาว่าต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ดังนั้น การดูแลสุขภาพของเด็กในวัยเรียน จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่โรง | 50.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้และความสามารถของครู แม่ครัว นักเรียน และผู้ปกครองในการดูแลเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการผอมและเตี็ย 2.เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารในโรงเรียนให้มีคุณภาพสามารถแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนให้รูปร่างดีสมส่วน 3.เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวในการรับปรุงพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องตามหลกโภชนาการของนักเรียน
|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | การประเมินภาวะโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน(1 มิ.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) | 22,500.00 | ||||
รวม | 22,500.00 |
1 การประเมินภาวะโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 57 | 22,500.00 | 0 | 0.00 | 22,500.00 | |
1 มิ.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 | การประเมินภาวะโภชนาการ และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน | 57 | 22,500.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 57 | 22,500.00 | 0 | 0.00 | 22,500.00 |
1.โรงเรียนมีคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้และตระหนักเรื่องภาวะโกชนาการ โดยหันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกา บริโภคอาหาร จนส่งผลให้ภาวะทุพโภชนาการเด็กลดลง 3.โรงเรียนมีข้อมูลปัญหา อุปสรรคเชิงลึกของเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการจากครูประจำชั้น และผลสำ การทำโครงการ นำมาแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนแบบมีส่วนร่วมจากผู้ที่ 4.โรงเรียนมีครอบครัวต้นแบบที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเด็กผอม, อ้วนได้สำเร็จ 5.โรงเรียนมีเมบูอาหารที่เหมาะกับบริบทพื้นที่ตามโปรแกรม Thai School Lunch และระบบการจัดก อาหารอย่างเป็นระบบ ทำให้เด็กได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2567 11:14 น.