กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ แอโรบิค ชีวีดี มีสุขภาพ
รหัสโครงการ 67-L2522-2-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมแอโรบิค เทศบาลตำบลแว้ง
วันที่อนุมัติ 19 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 14,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นางอาซีซะ หัฎฐเสรี 2.นางสุไหนี ลาเต๊ะ 3.นาวศรีสุดา ยูโซ๊ะ 4.นางสาวนารีรัตน์ วุฒิศาสตร์ 5.นางโนรีโน ยะโก๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.936,101.835place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2567 30 ก.ย. 2567 14,000.00
รวมงบประมาณ 14,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

“การมีสุขภาพที่ดี จะนำสู่การมีคุณภาพชีวิตที่มีความสุข” สุขภาพที่ดีเป็นความปรารถนาของทุกคนที่อยากจะให้เกิดขึ้นกับตนเองและครอบครัว แต่องค์ประกอบที่จะทำให้เกิดขึ้นนั้นมีหลายประการ หนึ่งในองค์ประกอบนั้นคือการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ดังนั้นการออกกำลังกายแบบ แอโรบิค เป็นรูปแบบการออกกำลังกายรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมแพร่หลายอย่างมากในปัจจุบัน ซึ่งเป็นการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับทุกเพศทุกวัย ที่สร้างความสนุกสนานเพลิดเพลิน แต่ให้ผลดีที่คุ้มค่าต่อสุขภาพอย่างยิ่ง ช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังต่างๆ เช่นความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและโรคอื่นๆเป็นต้น การออกกำลังการแบบแอโรบิคเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถแก้ปัญหาและป้องกันโรคต่างๆได้และส่งผลทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ชมรมแอโรบิคได้จัดให้มีการออกกำลังแบบแอโรบิคทุกวัน เพื่อให้ชุมชนได้ร่วมกันออกกำลังกายยามเช้าทุกวัน จากการจัดกิจกรรมดังกล่าวส่งผลให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายแบบแอโรบิค และได้ออกมาออกกำลังกายมากขึ้น ประกอบกับมีผู้นำในการออกกำลังแบบแอโรบิคให้ความสนใจและมีความรับผิดชอบของการเป็นแม่แบบในการนำออกลังกายแบบแอโรบิค สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมนี้เป็นที่สนใจของชุมชนและออกมาร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สามารถกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักเห็นคุณประโยชน์ของการออกกำลังกาย ที่นำไปสู่การปลอดโรค อยู่ดีกินดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้สมาชิกและชุมชนได้ร่วมการออกกำลังกายด้วยแอโรบิค 2.เพื่อให้สมาชิกใช้การแอโรบิคในการพัฒนาสุขภาพตนเอง 3.เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพ

1.สมาชิก/ชุมชนได้ร่วมกิจกรรมออกกำลังกายแบบแอโรบิค 2.สมาชิกและชุมชนเข้าร่วมออกกำลังกายแอโรบิคมากขึ้น 3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการปฏิสัมพันธ์แลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสุขภาพซึ่งกันและกัน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 50 14,000.00 0 0.00
1 พ.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ออกกำลังกายแบบแอโรบิคยามเช้า 50 14,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

2.ชุมชนตระหนักและให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายแบบแอโรบิคมากขึ้น 3.สุขภาพมีการพัฒนาที่ดีขึ้นและปลอดจากโรคภัยต่างๆ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.ค. 2567 11:51 น.