โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”
ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2512-2-10 เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2512-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,226.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายส่วนเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ ซึ่งการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเฉพาะในฤดูฝน สาเหตุจากเกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ ที่เป็นแหล่งเพาพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ควรเตรียมความพร้อม ควบคุม และกำจัดยุงลายก่อนถึงช่วงฤดูระบาดของโรค ประกอบกับพื้นที่ของตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส มีการประกอบอาชีพทำสวน ทำให้การแพร่กระจายของโรคเกิดจากทั้งในชุมชนและพื้นที่เกษตรกรรม
กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลรือเสาะออก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ได้เล็งเห็นปัญหาโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อเป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออก ที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน และเสริมสร้างสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงตื่นตัว ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- 2. เพื่อป้องกันยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
- ฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
4,000
กลุ่มวัยทำงาน
2,059
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ประชาชนตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และยุงลายไม่แพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธุ์ การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่เดินรณรงค์ให้ความรู้และบอกวิธีป้องกันโรคไข้เลือดออก การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย การป้องกันไม่ให้ยุงกัด และการใช้มาตราการอื่นๆ เช่น การใช้ยากันยุง และการกำจัดขยะ การใช้มาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค: ได้แก่ เก็บบ้าน, เก็บขยะ, และเก็บน้ำ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม:
การให้ความรู้ยังส่งเสริมให้ประชาชนปรับปรุงสภาพแวดล้อมรอบบ้าน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และปฏิบัติในชีวิตประจำวันจริง ทำให้ช่วยลดปริมาณยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
0
0
2. ฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แจ้งให้ประชาชนในพื้นที่ทราบล่วงหน้าก่อนวันดำเนินการ เพื่อให้เตรียมตัวและป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการฉีดพ่น ปิดประตูหน้าต่างบ้านให้มิดชิด เพื่อป้องกันสารเคมีเข้าไปในบ้าน
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานจะทำการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย โดยให้สารเคมีกระจายตัวเป็นละอองฝอยในอากาศ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลดจำนวนยุงลายตัวเต็มวัย ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ป้องกันการป่วยด้วยไข้เลือดออก ร้อยละ 80%
0.00
2
2. เพื่อป้องกันยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ
ตัวชี้วัด : กำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ ร้อยละ 80%
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
6059
6059
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
4,000
4,000
กลุ่มวัยทำงาน
2,059
2,059
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อป้องกันยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (2) ฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2512-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”
ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2512-2-10 เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2512-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,226.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายส่วนเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ ซึ่งการระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีโดยเฉพาะในฤดูฝน สาเหตุจากเกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ ที่เป็นแหล่งเพาพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ควรเตรียมความพร้อม ควบคุม และกำจัดยุงลายก่อนถึงช่วงฤดูระบาดของโรค ประกอบกับพื้นที่ของตำบลรือเสาะออก อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส มีการประกอบอาชีพทำสวน ทำให้การแพร่กระจายของโรคเกิดจากทั้งในชุมชนและพื้นที่เกษตรกรรม กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลรือเสาะออก และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบูกิ๊ตจือแร ได้เล็งเห็นปัญหาโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อเป็นการป้องกันโรคไข้เลือดออก ที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน และเสริมสร้างสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงตื่นตัว ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- 2. เพื่อป้องกันยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
- ฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 4,000 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 2,059 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ประชาชนตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และยุงลายไม่แพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธุ์ การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่เดินรณรงค์ให้ความรู้และบอกวิธีป้องกันโรคไข้เลือดออก การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย การป้องกันไม่ให้ยุงกัด และการใช้มาตราการอื่นๆ เช่น การใช้ยากันยุง และการกำจัดขยะ การใช้มาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค: ได้แก่ เก็บบ้าน, เก็บขยะ, และเก็บน้ำ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม: การให้ความรู้ยังส่งเสริมให้ประชาชนปรับปรุงสภาพแวดล้อมรอบบ้าน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และปฏิบัติในชีวิตประจำวันจริง ทำให้ช่วยลดปริมาณยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
|
0 | 0 |
2. ฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย |
||
วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำแจ้งให้ประชาชนในพื้นที่ทราบล่วงหน้าก่อนวันดำเนินการ เพื่อให้เตรียมตัวและป้องกันตนเองจากสารเคมีที่ใช้ในการฉีดพ่น ปิดประตูหน้าต่างบ้านให้มิดชิด เพื่อป้องกันสารเคมีเข้าไปในบ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลดจำนวนยุงลายตัวเต็มวัย ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ป้องกันการป่วยด้วยไข้เลือดออก ร้อยละ 80% |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อป้องกันยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ ตัวชี้วัด : กำจัดยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ ร้อยละ 80% |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 6059 | 6059 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 4,000 | 4,000 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 2,059 | 2,059 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อป้องกันยุงลายไม่ให้ไปแพร่เชื้อ หรือทำการขยายพันธ์ุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (2) ฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2512-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางคอรีเป๊าะ ดอเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......