โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลนาตาล่วง
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลนาตาล่วง |
รหัสโครงการ | 37-L1491-02-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาตาล่วง |
วันที่อนุมัติ | 6 กันยายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 8 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 32,824.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางบุญเรียง ทองตาล่วง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.584,99.596place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 8 ก.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 32,824.00 | |||
รวมงบประมาณ | 32,824.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ | 200.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย และเป็นโรคติดต่อที่สามารถแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว โดยมียุงลายเป็นพาหะนำเชื้อมาสู่คน ปัจจัยสำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่เกิดโรคออกไปอย่างกว้างขวางได้แก่การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากร และมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำที่คนทำขึ้นและการคมนาคมที่สะดวกขึ้น โดยส่วนใหญ่มักเกิดโรคในเด็กนักเรียนในกลุ่มอายุ 15-24 ปี รองลงมาคือกลุ่มอายุ 10-14 ปี เมือเกิดโรคหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องแล้วจะทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ พื้นที่เทศบาลตำบลนาตาล่วง เป็นพื้นที่ที่มีประชากรอยู่หนาแน่น เป็นที่ตั้งของบ้านเรือนและอาคารชุด เป็นที่ตั้งของสถานศึกษา การเฝ้าระวังการระบาดของโรคไข้เลือดออก เป็นสิ่งที่จำเป็นจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และจากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตั้งแต่ 1 มกราคม - 30 กันยายน 2566 เทศบาลตำบลนาตาล่วงมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 24 ราย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ไม่มีการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 1.มีผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 4 คน 2.ร้อยละ 70 ของครัวเรือนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่ดีและไม่พบแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย |
1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 0.00 | 3 | 32,824.00 | -32,824.00 | |
31 ก.ค. 67 | จัดซื้อทรายเคลือบสารเคมี/โลชั่น | 0 | 0.00 | ✔ | 15,700.00 | -15,700.00 | |
6 ส.ค. 67 | ประชุมวางแผนการออกรณรงค์ | 0 | 0.00 | ✔ | 4,224.00 | -4,224.00 | |
21 ส.ค. 67 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้/เดินรณรงค์ | 0 | 0.00 | ✔ | 12,900.00 | -12,900.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 3 | 32,824.00 | -32,824.00 |
1.ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำงายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 2.เกิดบ้านตัวอย่างในการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกบ้าน 3.ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการเฝ้าระวังและป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกอย้างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ค. 2567 09:39 น.