กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการเด็กหินผุดฟันสวยยิ้มสดใสใส่ใจสุขภาพช่องปาก (๐-๓ ปี)ปีงบประมาณ๒๕๖7 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล

ชื่อโครงการ โครงการเด็กหินผุดฟันสวยยิ้มสดใสใส่ใจสุขภาพช่องปาก (๐-๓ ปี)ปีงบประมาณ๒๕๖7

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5275-01-012 เลขที่ข้อตกลง 24

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กหินผุดฟันสวยยิ้มสดใสใส่ใจสุขภาพช่องปาก (๐-๓ ปี)ปีงบประมาณ๒๕๖7 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กหินผุดฟันสวยยิ้มสดใสใส่ใจสุขภาพช่องปาก (๐-๓ ปี)ปีงบประมาณ๒๕๖7



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กหินผุดฟันสวยยิ้มสดใสใส่ใจสุขภาพช่องปาก (๐-๓ ปี)ปีงบประมาณ๒๕๖7 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5275-01-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็ก ๐-๓ปี โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ ๑-๓ ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของผู้เลี้ยงดูเด็ก ในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กขาดความมั่นใจและไม่กล้าแสดงออก
ข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 9 ปี 25๖6พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 3ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 47.0 ในขณะที่ภาคใต้ พบว่าเด็ก 3 ปีมีอัตราการเกิดฟันผุสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่นๆ เป็นร้อยละ 57.0 (สำนักทันตสาธารณสุข)ปี2566 อำเภอหาดใหญ่พบว่าเด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 46.45(คลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center)โดยเด็ก 3 ปีในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหินผุดพบว่ามีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 58.43(คลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center) ซึ่งเมื่อเทียบร้อยละในระดับประเทศ ภาคและอำเภอพบว่าเด็ก 3 ปีในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหินผุดมีอัตราฟันผุที่สูง และเป็นปัญหาที่จะต้องได้รับการแก้ไข ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหินผุดกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองทุ่งตำเสาได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเด็กหินผุดฟันสวยยิ้มสดใสใส่ใจสุขภาพช่องปาก (๐-๓ ปี) ปีงบประมาณ ๒๕๖7 ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3 ปีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากรู้จักและเข้าใจขั้นตอนการแปรงฟันที่ถูกวิธีตลอดจนเด็ก ๐-3 ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์ได้อย่างครอบคลุม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑เพื่อส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3ปีมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
  2. ข้อที่ ๒เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3 ปี มีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธี
  3. ข้อที่ 3เพื่อให้เด็ก ๐-3 ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิช

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑.กิจกรรมประชุมชี้แจงแก่ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปี จำนวน 174 คน
  2. ๒.ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่เด็ก ๐-๓ปี จำนวน174คน
  3. ๓.ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิชแก่เด็ก ๐-๓ปี จำนวน 174 คน
  4. ๔.ประกวดหนูน้อยฟันสวย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ๒.ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ ปีสามารถแปรงฟันให้ลูกได้อย่างถูกวิธี
๓.ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ ปีสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดขยายผลต่อเพื่อนและผู้ใกล้ชิดได้อย่างถูกต้อง ๔.เด็ก ๐-๓ ปีมีสุขภาพช่องปากที่ดีลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ๕.เด็ก ๐-๓ ปีมีฟันน้ำนมผุลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑เพื่อส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3ปีมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๑๐๐ของผู้เลี้ยงดูเด็ก 0-3 ปีมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กโดยวัดจากแบบทดสอบก่อนหลังให้ความรู้
0.00

 

2 ข้อที่ ๒เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3 ปี มีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3ปี มีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธีโดยวัดจากแบบทดสอบก่อนหลังให้ความรู้
0.00

 

3 ข้อที่ 3เพื่อให้เด็ก ๐-3 ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิช
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 10๐ ของเด็ก ๐-3 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 4.ร้อยละ 90 ของเด็ก ๐-3 ปีได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑เพื่อส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3ปีมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก (2) ข้อที่ ๒เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-3 ปี มีทักษะในการแปรงฟันที่ถูกวิธี (3) ข้อที่ 3เพื่อให้เด็ก ๐-3 ปีในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและทาฟลูออไรด์วานิช

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.กิจกรรมประชุมชี้แจงแก่ผู้เลี้ยงดูเด็ก ๐-๓ปี จำนวน 174 คน (2) ๒.ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีแก่เด็ก ๐-๓ปี จำนวน174คน (3) ๓.ตรวจฟันและทาฟลูออไรด์วานิชแก่เด็ก ๐-๓ปี จำนวน 174 คน (4) ๔.ประกวดหนูน้อยฟันสวย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กหินผุดฟันสวยยิ้มสดใสใส่ใจสุขภาพช่องปาก (๐-๓ ปี)ปีงบประมาณ๒๕๖7 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5275-01-012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด