โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน |
รหัสโครงการ | 67-L2481-1-25 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นูรุลญาดีด |
วันที่อนุมัติ | 30 พฤษภาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 30,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมาหามะมาสูร์กี อาแว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.22,102.059place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กในวัยเรียน ซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโต และเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบที่ 5 หมู่ซึ่งในเเต่ละหมู่ต้องมีความหลากหลายและปริมาณให้เพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการในเด็กในวัยเรียนของในพื้นที่ตำบลเกาะสะท้อน มีเด็กหลายคนที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ซึ่งเด็กในวัยเรียนเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็ว การได้รับสารอาหารมากเกินไปหรือขาดสารอาหารจะมีผลกระทบต่อเด็กได้ผลกระทบที่พบประกอบด้วย ด้านสุขภาพร่างกายด้านสังคมและจิตใจ ด้านการเรียน และด้านเศรษฐ์กิจ ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาทุพโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี 3 ปัจจัย ได้เเก่ ส่วนบุคคลพฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทั้งปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม และในปัจจุบันนั้น พบว่าเด็กที่มีปัญหาโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน ในขณะเดียวกันก็พบว่ายังมีนักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งเกิดจากเด็กยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของตนเองทำให้เด็กส่วนหนึ่งยังมีปัญหาโรคอ้วนหรือผอมเกินไป การเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมรอบๆโรงเรียนที่เอื้อต่อการทำให้เด็กมีปัญหาโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่เกิดจากการขาดสารอาหาร เพื่อเเก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้เด็กสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืนและที่สำคัญผู้ปกครองของเด็กจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมของเด็กด้วย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก
|
||
2 | เพื่อให้เด็กเล็กที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูเเลเเก้ไข
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมอาหาร การปรับพฤติกรรมเด็ก เพื่อให้เด็กมีโภชนาการที่ดี
|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 |
---|---|---|---|---|
1 | จัดซื้อ(1 ก.ค. 2567-1 ก.ค. 2567) | 30,000.00 | ||
รวม | 30,000.00 |
1 จัดซื้อ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 231 | 30,000.00 | 2 | 30,000.00 | 0.00 | |
15 ก.ค. 67 | จัดซื้อ | 0 | 5,280.00 | ✔ | 5,280.00 | 0.00 | |
1 - 31 ส.ค. 67 | อบรม | 231 | 24,720.00 | ✔ | 24,720.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 231 | 30,000.00 | 2 | 30,000.00 | 0.00 |
1.เด็กในวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ 2.พัฒนาการด้านสติปัญญาในเด็กเพิ่มมากขึ้น ในเมื่อเด็กได้รับสารอาหารที่เหมาะสมกับช่วงวัยส่งผลให้มีการเรียนรู้ที่เร็วขึ้น และมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้มากขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2567 09:50 น.