โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ ”
หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน บิณกาญจน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5275-02-013 เลขที่ข้อตกลง 27
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5275-02-013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,096.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ข้อมูลการวิจัย ระบุ การรับรู้ศักยภาพในชุมชน นำมาซึ่งความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน และเป็นการสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชน ศักยภาพของชุมชนที่เพียงพอเป็นวิธีการที่สามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (มิ่งขวัญ คงเจริญ และอาชัญญา รัตนอุบล,2011)
หลักการและเหตุผล
และ บริบทของชุมชนทั้ง ๓ ด้าน คือ การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาวะผู้นำชุมชน และความยึดมั่นผูกพันของชุมชน มีผลกระทบต่อศักยภาพของชุมชน ในการสร้างให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งในเรื่องของการออกกำลังกาย ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่ยั่งยืนในชุมชน ศักยภาพของชุมชน จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ (เอกศักดิ์ เฮงสุโข,๒๐๑๔) ซึ่งปัจจัยแห่งความสำเร็จของกลุ่มออกกำลังกาย (นิตยา เพ็ญศฺณฺนภา,๒๕๕๓) ที่ทำให้กลุ่มเข้มแข็งและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง คือมีการจัดกิจกรรมตรงความต้องการของสมาชิกทุกกลุ่ม มีการปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก เช่น เพิ่มท่าเต้นที่สนุกสนาน ผสมผสานโยคะ บางแห่งมีกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ที่สมาชิกมาทำกิจกรรมร่วมกัน ที่นอกเหนือจากการออกกำลังกาย และ การจัดให้มีการแข่งขัน หรือการแสดงออกของสมาชิกในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ ความภาคภูมิใจ การสร้างชื่อเสียงให้กับกลุ่ม
ตำบลทุ่งตำเสา มีกลุ่มและชมรมออกกำลังกายในชุมชน ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ รวมถึงชมรมดอกตำเสาบานซึ่งได้ก่อตั้งเมื่อปี ๒๕๖๒ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการออกำลังกายของประชาชนในชุมชน พัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายในชุมชนให้สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายในระดับชุมชนตนเอง ปัจจุบันมีสมาชิกอยู่ประมาณ ๒๐๐ คน รูปแบบที่กลุ่มหรือชมรมใช้ในการออกกำลังกาย ประกอบไปด้วย เต้นแอโรบิคแด๊นซ์ เต้นลีลาศ และเต้นบาสโลป เป็นต้น แต่ขาดปัจจัยในการส่งเสริมศักยภาพของชุมชน และ ความภาคภูมิใจของกลุ่ม เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการขับเคลื่อนระดับชุมชน ส่งผลให้จำนวนสมาชิกมาทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชนไม่ต่อเนื่อง ชมรมดอกตำเสาบาน จึงจัดทำโครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายระดับชุมชน และสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกาย ส่งเสริมให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจกลุ่ม/ชมรมในการจัดกิจกรรมทางกายในชุมชน
- ๒. เพื่อสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชาชนระดับชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๒. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแส และเชิญชวนประชาชนร่วมกิจกรรม - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์ติดตั้งในชุมชน - สื่อสังคมออนไลน์ - จัดทำป้ายสติ๊กเกอร์โฟม จุดเช็คอิน
- ๓.กิจกรรมสร้างกระแส และเสริมพลังชุมชนด้วยกิจกรรมทางกายในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง(เดือนละครั้ง) - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสื่อให้ความรู้ด้านการมีกิจกรรมทางกาย - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับ สาธารณะประโยชน์
- ๑. ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผล
- ๔. สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่ม/ชมรม จัดกิจกรรมทางกายในชุมชนต่อเนื่อง
๒. ประชาชนร่วมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจกลุ่ม/ชมรมในการจัดกิจกรรมทางกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๕๐ ของกลุ่ม/ชมรม ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีการขับเคลื่อนระดับชุมชน ต่อเนื่อง
0.00
2
๒. เพื่อสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชาชนระดับชุมชน
ตัวชี้วัด : ๒. สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม มากกว่าร้อยละ ๘๐
และมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ ๘๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจกลุ่ม/ชมรมในการจัดกิจกรรมทางกายในชุมชน (2) ๒. เพื่อสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชาชนระดับชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๒. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแส และเชิญชวนประชาชนร่วมกิจกรรม - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์ติดตั้งในชุมชน - สื่อสังคมออนไลน์ - จัดทำป้ายสติ๊กเกอร์โฟม จุดเช็คอิน (2) ๓.กิจกรรมสร้างกระแส และเสริมพลังชุมชนด้วยกิจกรรมทางกายในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง(เดือนละครั้ง) - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสื่อให้ความรู้ด้านการมีกิจกรรมทางกาย - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับ สาธารณะประโยชน์ (3) ๑. ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผล (4) ๔. สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5275-02-013
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยุพิน บิณกาญจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ ”
หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน บิณกาญจน์
กันยายน 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5275-02-013 เลขที่ข้อตกลง 27
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L5275-02-013 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,096.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ข้อมูลการวิจัย ระบุ การรับรู้ศักยภาพในชุมชน นำมาซึ่งความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน และเป็นการสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชน ศักยภาพของชุมชนที่เพียงพอเป็นวิธีการที่สามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (มิ่งขวัญ คงเจริญ และอาชัญญา รัตนอุบล,2011)
หลักการและเหตุผล
และ บริบทของชุมชนทั้ง ๓ ด้าน คือ การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาวะผู้นำชุมชน และความยึดมั่นผูกพันของชุมชน มีผลกระทบต่อศักยภาพของชุมชน ในการสร้างให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งในเรื่องของการออกกำลังกาย ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่ยั่งยืนในชุมชน ศักยภาพของชุมชน จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ (เอกศักดิ์ เฮงสุโข,๒๐๑๔) ซึ่งปัจจัยแห่งความสำเร็จของกลุ่มออกกำลังกาย (นิตยา เพ็ญศฺณฺนภา,๒๕๕๓) ที่ทำให้กลุ่มเข้มแข็งและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง คือมีการจัดกิจกรรมตรงความต้องการของสมาชิกทุกกลุ่ม มีการปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก เช่น เพิ่มท่าเต้นที่สนุกสนาน ผสมผสานโยคะ บางแห่งมีกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ที่สมาชิกมาทำกิจกรรมร่วมกัน ที่นอกเหนือจากการออกกำลังกาย และ การจัดให้มีการแข่งขัน หรือการแสดงออกของสมาชิกในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ ความภาคภูมิใจ การสร้างชื่อเสียงให้กับกลุ่ม
ตำบลทุ่งตำเสา มีกลุ่มและชมรมออกกำลังกายในชุมชน ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ รวมถึงชมรมดอกตำเสาบานซึ่งได้ก่อตั้งเมื่อปี ๒๕๖๒ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการออกำลังกายของประชาชนในชุมชน พัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายในชุมชนให้สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายในระดับชุมชนตนเอง ปัจจุบันมีสมาชิกอยู่ประมาณ ๒๐๐ คน รูปแบบที่กลุ่มหรือชมรมใช้ในการออกกำลังกาย ประกอบไปด้วย เต้นแอโรบิคแด๊นซ์ เต้นลีลาศ และเต้นบาสโลป เป็นต้น แต่ขาดปัจจัยในการส่งเสริมศักยภาพของชุมชน และ ความภาคภูมิใจของกลุ่ม เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการขับเคลื่อนระดับชุมชน ส่งผลให้จำนวนสมาชิกมาทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชนไม่ต่อเนื่อง ชมรมดอกตำเสาบาน จึงจัดทำโครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจในการขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายระดับชุมชน และสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกาย ส่งเสริมให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจกลุ่ม/ชมรมในการจัดกิจกรรมทางกายในชุมชน
- ๒. เพื่อสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชาชนระดับชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๒. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแส และเชิญชวนประชาชนร่วมกิจกรรม - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์ติดตั้งในชุมชน - สื่อสังคมออนไลน์ - จัดทำป้ายสติ๊กเกอร์โฟม จุดเช็คอิน
- ๓.กิจกรรมสร้างกระแส และเสริมพลังชุมชนด้วยกิจกรรมทางกายในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง(เดือนละครั้ง) - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสื่อให้ความรู้ด้านการมีกิจกรรมทางกาย - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับ สาธารณะประโยชน์
- ๑. ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผล
- ๔. สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่ม/ชมรม จัดกิจกรรมทางกายในชุมชนต่อเนื่อง ๒. ประชาชนร่วมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจกลุ่ม/ชมรมในการจัดกิจกรรมทางกายในชุมชน ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๕๐ ของกลุ่ม/ชมรม ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีการขับเคลื่อนระดับชุมชน ต่อเนื่อง |
0.00 |
|
||
2 | ๒. เพื่อสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชาชนระดับชุมชน ตัวชี้วัด : ๒. สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม มากกว่าร้อยละ ๘๐ และมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเสริมพลังและสร้างแรงจูงใจกลุ่ม/ชมรมในการจัดกิจกรรมทางกายในชุมชน (2) ๒. เพื่อสร้างกระแส การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของประชาชนระดับชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๒. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างกระแส และเชิญชวนประชาชนร่วมกิจกรรม - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์ติดตั้งในชุมชน - สื่อสังคมออนไลน์ - จัดทำป้ายสติ๊กเกอร์โฟม จุดเช็คอิน (2) ๓.กิจกรรมสร้างกระแส และเสริมพลังชุมชนด้วยกิจกรรมทางกายในชุมชน จำนวน 3 ครั้ง(เดือนละครั้ง) - จัดทำสื่อไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรม และสื่อให้ความรู้ด้านการมีกิจกรรมทางกาย - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับ สาธารณะประโยชน์ (3) ๑. ประชุมคณะทำงาน เพื่อวางแนวทางการดำเนินงานและติดตามประเมินผล (4) ๔. สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมพลัง สร้างทีม ขยับกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-L5275-02-013
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยุพิน บิณกาญจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......