โครงการอาหารเช้าเพื่อลูก “อิ่มท้องสมองใส”
ชื่อโครงการ | โครงการอาหารเช้าเพื่อลูก “อิ่มท้องสมองใส” |
รหัสโครงการ | 67 –L8300-3-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์ |
วันที่อนุมัติ | 11 มีนาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2567 |
งบประมาณ | 8,515.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวโนเรียณี จิตร์เดชา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.936,101.835place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 51 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
อาหารเช้าเป็นอาหารสมอง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตและเป็นส่วนช่วยในการบำรุงร่างกายให้เจริญเติบโต และสมองที่ดีมีสมรรถนะทางกายเป็นเกณฑ์ เพื่อให้เด็ก ๆเริ่มต้นวันใหม่ด้วยการอิ่มท้องพร้อมสำหรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆในแต่ละวันอย่างมีความสุข เพื่อพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารเช้า ว่ามีประโยชน์ต่อสมองและสุขภาพร่างกายของคนเรายิ่งนัก ดังนั้น มื้อเช้าสำคัญต่อทั้งพฤติกรรมและพัฒนาการในการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ จากงานวิจัยสรุปว่า การกินอาหารเช้ามีผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของลูกในห้องเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิชาคำนวณมีรายงานว่าเด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้านั้น จะมีทักษะในการคำนวณลดลง และเด็กที่กินอาหารเช้าที่หลากหลาย มีคุณภาพจะมีพัฒนาการในการเรียนรู้และมีทักษะที่ดี อาหารเช้าจึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ เพราะอาหารเช้าคืออาหารสมอง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มความรู้แก่ผู้ปกครองในการบริโภคอาหารที่ถูกตามหลักโภชนาการ
|
||
2 | เพื่อแก้ปัญหาน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ของเด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัยที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น |
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารเช้า ผู้ปกครองได้ตระหนักถึงความสำคัญในการเลี้ยงดูบุตรให้มีภาวะโภชนาการที่ดี |
||
4 | เพื่อให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโภชนาการ ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเพิ่ม ขึ้น |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2567 11:51 น.