กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ


“ โครงการอบรมทันตสุขภาพและป้องกันโรค “รักษ์ยิ้ม สุขใจ” โรงเรียนบ้านตือกอ ”

ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวลาตีป๊ะ มามะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมทันตสุขภาพและป้องกันโรค “รักษ์ยิ้ม สุขใจ” โรงเรียนบ้านตือกอ

ที่อยู่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2474-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมทันตสุขภาพและป้องกันโรค “รักษ์ยิ้ม สุขใจ” โรงเรียนบ้านตือกอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมทันตสุขภาพและป้องกันโรค “รักษ์ยิ้ม สุขใจ” โรงเรียนบ้านตือกอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมทันตสุขภาพและป้องกันโรค “รักษ์ยิ้ม สุขใจ” โรงเรียนบ้านตือกอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2474-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2567 - 1 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,953.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ  พบว่า เด็กอายุ 12 ปี ในกลุ่มเด็กประถมศึกษา มีสภาวะการเกิดโรคฟันผุค่อนข้างคงที่ โดยมีสัดส่วนผู้เป็นโรคฟันผุ  ร้อยละ 53.9,57.3 และ56.87 ค่าเฉลี่ยฟันผุ ผุ อุด ถอน 1.55 , 1.64 และ1.55 ซี่ต่อคนในปี 2537, 2544 และ 2550 ตามลำดับ ปัจจัยที่ทำให้เด็กกลุ่มนี้มีสภาวะการเกิดโรคฟันผุค่อนข้างคงที่ คือการเข้าถึงบริการทันตกรรมป้องกันที่เพิ่มขึ้น ในโครงการยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี ซึ่งเป็นผลกระทบที่ทำให้ประชาชนให้ความสนใจในการรับบริการมากขึ้น เนื่องจากโครงการได้สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งวิธีการป้องกันการเกิดโรคฟันผุในฟันกรามแท้ซี่ที่หนึ่ง คือต้องเริ่มต้นนับตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นมาในช่องปากคือ อายุ 6 ปี และฟันจะขึ้นเต็มที่โดยที่อยู่ในแนวการบดเคี้ยวอาหาร (occlusal plane) เมื่อเด็กอายุ 8 ปี (ชั้น ป. 3)  ในกรณีของเด็กอายุ 12 ปี จะมีฟันกรามแท้ซี่ที่ 2 ซึ่งเป็นฟันกรามที่ขึ้นถัดจากฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 เข้าไป โดยที่จะเกิดการผุที่ด้านบดเคี้ยวของฟันซี่นี้ในเด็กอายุ 12 ปี เช่นเดียวกับกรณีฟันกรามแท้ซี่ที่ 1ในเด็ก ป. 1 การสำรวจพ.ศ. 2549-50 พบว่า ฟันกรามแท้ซี่ที่ 2 มีการผุไปแล้วร้อยละ 12 แม้ว่าจะเป็นช่วงวัยที่ฟันเริ่มขึ้นก็ตาม วิธีการดูแลรักษาฟัน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการดูแล ทำความสะอาดและได้รับฟลูออไรด์อย่างสม่ำเสมอ มาตรการที่เหมาะสม คือ การแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ทุกวัน ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างสุขนิสัยที่ต้องเริ่มดำเนินการตั้งแต่เด็กวัยก่อนเรียน ซึ่งเป็นช่วงที่ฟันแท้กำลังจะขึ้น ไปจนถึงเด็กวัยประถมศึกษา และสร้างสุขนิสัยในการดูแลรักษาสุขอนามัยส่วนตัวให้แก่เด็ก เป็นการเตรียมความพร้อมให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองในอนาคตและเพื่อให้มีการดำเนินการส่งเสริมทันตสุขภาพช่องปากในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
    โรงเรียนบ้านตือกอ จึงได้จัดทำโครงการอบรมทันตสุขภาพและป้องกันโรค “รักษ์ยิ้ม สุขใจ”  ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อพัฒนาระบบบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพและครอบคลุม ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลรักษาอนามัย ช่องปากของตนเองและส่งเสริมกิจกรรมทันตสุขภาพในโรงเรียนอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในกลุ่มเด็กวัยเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง 3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปากและมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนสามารถดูแลทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากได้
    2. นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงเสร็จทุกวันเป็นกิจนิสัย
    3. นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปากและมีสุขภาพฟันที่แข็งแรงได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ความรู้ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในกลุ่มเด็กวัยเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง 3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปากและมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 134
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 134
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้ทันตสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในกลุ่มเด็กวัยเรียน 2. เพื่อให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยง 3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดภายในช่องปากและมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมทันตสุขภาพและป้องกันโรค “รักษ์ยิ้ม สุขใจ” โรงเรียนบ้านตือกอ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 67-L2474-2-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวลาตีป๊ะ มามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด