กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก


“ โครงการสุขภาพจิตดี ชีวีสดใส ประจำปี2567 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเพชรรัตน์ มณีโชติ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดี ชีวีสดใส ประจำปี2567

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 17-L8283-02-67 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพจิตดี ชีวีสดใส ประจำปี2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตดี ชีวีสดใส ประจำปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพจิตดี ชีวีสดใส ประจำปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 17-L8283-02-67 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยที่ผันแปรอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชากรต้องดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบ เนื่องจากมีการแข่งขันสูง ทำงานแข่งกับเวลา และค่าครองชีพสูงทำให้เกิดความเครียด ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ความสะดวกสบาย อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้พฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงานจะมีภาวะเสี่ยงที่ทำให้เกิดความเครียดมากที่สุด ไม่มีเวลาในการดูแลสุขภาพ รวมไปถึงสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนในชุมชนต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด ความขับข้องใจแยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลงมีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากคนในชุมชนไม่ได้รับการดูแลใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ จึงควรส่งเสริมสุขภาพจิต เพื่อให้เกิดการบำรุงรักษาสภาพจิตใจของตนเองให้เข้มแข็งสมบูรณ์อยู่เสมอ การใช้ชีวิตในชีวิตอยู่ในสังคมของมนุษย์จะต้องประสบทั้งความทุกข์และความสุขปะปนกันไป
ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารสุขเทศบาลตำบลหนองจิก เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจึงได้จัดทำโครงการสุขภาพจิตดี ชีวีสดใส เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพจิตที่เข้มแข็ง สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้ดียิ่งขึ้น มีวิธีการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดี รู้จักและทำความเข้าใจตัวเองให้ดีที่สุด ฝึกทำจิตใจให้สดชื่นแจ่มใส มองโลกในแง่ดี หาสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยึดถือคำสอนในศาสนาที่ตนเองนับถือ เพราะคำสอนในศาสนาจะเป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งจิตใจให้สงบ เยือกเย็น มีสติปัญญา ไม่หลง โกรธ มัวเมาในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องพลังสุขภาพจิต
  2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชน ได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิด และมีการทำกิจกรรมร่วมกัน
  3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น และสามารถดำรงชีวิตอยู่กับชุมชน ครอบครัวได้อย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้สุขภาพจิตศึกษา "เรื่องสุขภาพจิตสร้างได้"
  2. กิจกรรมสันทนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 51
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องพลังสุขภาพจิต และสามารถนำแนวทางการส่งเสริมพลังสุขภาพจิตไปใช้กับตนเองได้ 2.ประชาชนในชุมชน ได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิด และมีการทำกิจกรรมร่วมกัน
3.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น และสามารถดำรงชีวิตอยู่กับชุมชน ครอบครัวได้อย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องพลังสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด :
38.00 55.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนในชุมชน ได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิด และมีการทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด :
55.00 65.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น และสามารถดำรงชีวิตอยู่กับชุมชน ครอบครัวได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด :
65.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 51
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องพลังสุขภาพจิต (2) เพื่อให้ประชาชนในชุมชน ได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิด และมีการทำกิจกรรมร่วมกัน (3) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น และสามารถดำรงชีวิตอยู่กับชุมชน ครอบครัวได้อย่างมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้สุขภาพจิตศึกษา "เรื่องสุขภาพจิตสร้างได้" (2) กิจกรรมสันทนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพจิตดี ชีวีสดใส ประจำปี2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 17-L8283-02-67

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเพชรรัตน์ มณีโชติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด