กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด ”
ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางอานีตา สะมะแอ




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67 –L8300-3-06 เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67 –L8300-3-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในแต่ละวันของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์ พบมีขยะเกิดขึ้นจากกิจวัตรประจำวันของศูนย์ฯ ได้แก่ เศษกระดาษ ถุงพลาสติก ขวดแก้ว ขวดพลาสติก กล่องนม เศษอาหาร  แพมเพิส ฯลฯ นอกจากนี้ยังพบมีขยะที่มาจากจากผู้ปกครองและผู้คนที่สัญจรผ่านเส้นทางที่ตั้งศูนย์และเพื่อนบ้านซึ่งอยู่ภายในบริเวณเส้นทางเดียวกัน ด้วยการจัดการที่ยังไม่ดีมากนักทำให้เกิดขยะตั้งกองรวมกันบ้าน กระจัดกระจายไปตามริมถนนบ้าง ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ไม่ดีและไม่น่าดู และยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรค เช่น หนู แมลงสาปแมลงวัน จากการวิเคราะห์พบว่า ร้อยละ 50-60 % ของขยะภายใน ศูนย์ ฯเป็นขยะที่นำกลับมารีไซเคิลใหม่ได้ ดังนั้นการคัดแยกขยะจะทำให้ทางศูนย์รู้ว่าควรกำจัดขยะแต่ละประเภทอย่างไร จึงเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและงบประมาณหรือขยะเช่นใดบ้างที่ควรนำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ การคัดแยกขยะเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญต่อระบบการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่และจะสามารถช่วยลดปัญหาขยะริมถนนและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคด้วย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์ เล็งเห็นความสำคัญและต้องการลดปริมาณขยะในศูนย์ สร้างกระบวนการคัดแยกขยะให้เกิดขึ้นและสามารถป้องกันโรคระบบทางเดินหายใจจากการทิ้งขยะผสมรวมกันอาจทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวนส่งผลให้เด็กไม่มีสมาธิในการจัดการเรียนการสอน ทำให้สภาพแวดล้อมบริเวณศูนย์เด็กเล็กไม่น่าดูและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กเล็กในศูนย์ฯ และสามารถนำขยะที่ได้กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ของเด็กและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองโดยนำวัสดุเหลือมาประยุกต์ใช้กลับมาเป็นนวัตกรรมเกิดประโยชน์กับการเรียนรู้ของเด็กโดยตรง และเป็นการปลูกฝังโดยเด็กได้คิดเองทำเองใช้เอง ซึ่งจะสร้างองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้จากสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ช่วยลดขยะในศูนย์ และยังสร้างจิตสำนึกที่ดีแก่เด็กตั้งแต่ยังเล็ก การที่เราได้ปลูกฝังให้เด็กได้รู้จักคิดด้วยตนเองตั้งแต่เด็กให้รู้จักวิธีรักษาตนเอง รู้จักการแก้ปัญหาการรักษาสิ่งแวดล้อมเป็นการปลูกจิตสำนึกที่ดี มีวินัย ให้กับเด็กตั้งแต่เยาว์วัย และเมื่อสิ่งที่เขาทำเป็นตัวอย่างที่ดีจะเป็นการสร้างประโยชน์กับตนเองและชุมชนในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ผู้ปกครอง และครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีวินัยในตนเองและส่งเสริมให้เด็กมีใจรักษ์สะอาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 51
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ผู้ปกครอง และครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์สามารถแยกขยะได้เหมาะสมตามวัย 2.ผู้ปกครองเด็กสามารถจำแนกและแยกประเภทของขยะได้อย่างถูกต้อง 3. ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์สามารถจำแนกและแยกประเภทของขยะได้อย่างถูกต้องและมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ให้เด็กได้ปฏิบัติต่อไป

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด : 1. เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะ 2. เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์สามารถแยกขยะที่นำมาใช้ใหม่ และนำไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ ได้อย่างถูกต้อง 3. เด็ก ครู และผู้ปกครอง ช่วยกันดูแลสภาพแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้น่าอยู่ได้ตลอดเวลา

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีวินัยในตนเองและส่งเสริมให้เด็กมีใจรักษ์สะอาด
    ตัวชี้วัด : 1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์มีวินัยในตนเองได้อย่างเหมาะสมตามวัย 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์มีใจรักษ์สะอาด ดูแลช่วยเหลือตนเองได้ ดูแลอุปกรณ์เครื่องใช้ส่วนตัวได้อย่างเหมาะสมตามวัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 51
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็ก  ผู้ปกครอง และครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้จักการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมุสลิมวาตอนียะห์รู้คุณค่าของขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีวินัยในตนเองและส่งเสริมให้เด็กมีใจรักษ์สะอาด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยรักษ์สะอาด จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 67 –L8300-3-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอานีตา สะมะแอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด