กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสตรียุคใหม่ รู้ทันโรคมะเร็ง 2567
รหัสโครงการ 67 – L8278 -01-010
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลบันนังสตา
วันที่อนุมัติ 3 กรกฎาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 10 ตุลาคม 2567
งบประมาณ 37,480.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอัสมาค มะลาเฮง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.25,101.233place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 250 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูก โรคมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดในสตรีไทย ปัจจุบันสถิติการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม และโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้น ในโรคมะเร็งเต้านม เสียชีวิต 17.2 ต่อประชากร 100,000 คน ในโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต 19.5 ต่อประชากร 100,000 คน ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก สถิติจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมาพบแพทย์ เมื่อระยะของโรคมะเร็งนั้นได้เข้าสู่ในระยะลุกลามแล้ว การรักษาจึงเป็นไปได้ยาก ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ก่อให้เกิดปัญหาด้านสังคม และครอบครัวตามมาอย่างมากมาย ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความส าคัญ ของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกก็จะท าให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วย และอัตราการตายจากโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกลดลงและหากได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งที่เหมาะสมจะสามารถป้องกันและได้รับการรักษาได้ทันท่วงที อาจลดการตรวจลงเหลือเพียงตรวจทุก 2-3 ปี เมื่อผลตรวจคัดกรองปกติทุกครั้ง 3ครั้ง/3 ปีติดต่อกัน ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความส าคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค,อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง จากการดำเนินงานคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม ตั้งแต่ ปี 2564-2566 ของหน่วยบริการปฐมภูมิ พบว่าสตรีอายุ30-60 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจเต้านมเฉลี่ย ร้อยละ 90 และสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 60 ส่งผลให้มีดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง และผลลัพธ์ที่ได้จากการคัดกรองตรวจโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมพบว่าปี 2564-2566 ไม่พบประชากรที่เป็นโรคมะเร็งปากมดลูก ในกลุ่มเป้าหมายอายุ30 - 60 ปี และหญิงที่มีบุตรแล้วแต่พบประชากรหญิงที่เป็นโรคมะเร็งเต้านม ปี 2565ค้นพบได้ด้วยตนเองเริ่มการรักษาระยะที่ 2 ได้ทันท่วงที 1ราย ได้รับการเข้าสู่กระบวนการรักษา ดังนั้นทางหน่วยบริการปฐมภูมิจึงเล็งเห็นว่า การจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มสตรีที่มีอายุ 30-60 ปี และอสมจะส่งผลให้ อสม เกิดความเชี่ยวชาญในการตรวจโรคมะเร็งเต้านมและการเฝ้าระวังการเกิดโรคขั้นต้นได้ สตรีที่มีอายุ 30-60 ปี สามารถท าให้ค้นพบและสามารถรับรู้ระยะเริ่มต้นของอาการป่วยได้ทัน การจัดโครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพื่อติดตามการตรวจสุขภาพอย่างต่อเนื่องของผู้รับบริการ โดยเน้นการตรวจแบบ HPV DNA Test เชิงรุก เพื่อค้นหาเซลล์มะเร็งได้ในระยะเริ่มแรก รวมถึงตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเบื้องต้น เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ซึ่งจะเป็นแนวทางในการสกัดโรคก่อนลุกลาม และสร้างเสริมสุขภาพคนบันนังสตาห่างไกลโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของสตรีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 300 คน (สตรีกลุ่มอายุ 30-60 ปี ทั้งหมด 2,443 คน) ได้รับการตรวจคัด กรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ร้อยละ 30 ของสตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัด กรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

2 สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเอง

ร้อยละ  80 ของสตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้า นมด้วยตนเองได้ถูกต้อง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เพื่อค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกต่อเนื่อง อย่างน้อย 3 ปี
  3. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายทุกคน ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก 5 ปี
  4. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ