กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชมร่วมแรง ร่วมใจพิฆาตลูกน้ำยุงลาย ปี 2567 ”
ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายมุสตอฟา สะระยะ




ชื่อโครงการ โครงการชุมชมร่วมแรง ร่วมใจพิฆาตลูกน้ำยุงลาย ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67– L8278 -02-004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 ตุลาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชมร่วมแรง ร่วมใจพิฆาตลูกน้ำยุงลาย ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชมร่วมแรง ร่วมใจพิฆาตลูกน้ำยุงลาย ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชมร่วมแรง ร่วมใจพิฆาตลูกน้ำยุงลาย ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67– L8278 -02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 ตุลาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสถานการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกซึ่งกำลังแผ่ระบาดอย่างหนัก และได้คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งนำความสูญเสียแก่หลายครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติที่ต้องสูญเสียบุคลากรที่ส่วนใหญ่เป็นเยาวชน อันเป็นอนาคตของประเทศต่อไป จึงจำเป็นต้องช่วยกันรณรงค์ให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้โดยด่วน และให้ทราบถึงวิธีป้องกันตัวเองไม่ให้เป็นโรคไข้เลือดออกอีกด้วย ผู้ป่วยไข้เลือดออกส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม 5-9 ปี รองลงมาได้แก่กลุ่มอายุ 10-14 ปี ในปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคอย่างกว้างขวาง โดยจะพบผู้ป่วยได้ทุกจังหวัดและทุกภาคของประเทศ โดยจำนวนผู้ป่วยทั้งประเทศตั้งแต่ 5 มกราคม – 5พฤษภาคม พ.ศ.2544 รวมทั้งสิ้น 11,711 ราย เสียชีวิตแล้ว 38 ราย ( กระทรวงสาธารณสุขhttp://www.ruralnet.moph.go.th/denque/index.html.) ในปีนี้เรามักได้ยินคำว่า “ไข้เลือดออกสายพันธุ์ใหม่” จากสื่อต่างๆไม่ว่าจะเป็น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ซึ่งในความจริงแล้ว ไม่ใช่เป็นสายพันธุ์ใหม่แต่อย่างใด เป็นเพียงหนึ่งในสายพันธุ์เชื้อของไข้เลือดออก ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งชื่อ “เดงกี่” (Denque) มีอยู่ทั้งหมด 4 สายพันธุ์ เรียกชื่อกันง่ายๆ คือ DEN1,DEN2 DEN3 และDEN4 ซึ่งเมื่อมีการติดเชื้อชนิดใดชนิดหนึ่งแล้ว จะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสชนิดนั้นอย่างถาวรตลอดชีวิต แต่จะมีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเดงกี่อีก 3 ชนิดในช่วง สั้นๆประมาณ 6-12 เดือน (สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก)  ปัจจัยสำคัญที่ทำให้มีการแพร่ระบาดและมีการขยายพื้นที่เกิดโรคออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือมีชุมชนเมืองเพิ่มมากขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากร และมียุงลายมากขึ้น ตามการเพิ่มของภาชนะขังน้ำ ที่คนทำขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางถนนและทางอากาศ ทำให้มีทางเดินมากขึ้น ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเดงกี่เป็นไปอย่างรวดเร็ว สำหรับสถานการณ์ในพื้นที่ ได้รับรายงานพบผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออก เพิ่มสูงขึ้น และจากรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก ในปี 2564 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 3 ราย ในปี 2565 ผู้ป่วย 5 ราย  และในปี 2566 พบผู้ป่วย 11 ราย และมีแนวโน้มว่าผู้ป่วยจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในพื้นที่หมู่6 และหมู่8 ในเขตรับผิดชอบ
    จากปัญหาดังกล่าว การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และสถานการณ์ผู้ป่วยมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ ม.6 และ ม.8 ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ดังนั้น ทางแกนนำอสม.หมู่6,8 ตำบลบ้านบือซูเล็งเห็นถึงปัญหาจึงได้จัดทำ  “ชุมชมร่วมแรง ร่วมใจพิฆาตลูกน้ำยุงลาย ปี 2567” ขึ้น เพื่อเน้นการดำเนินงานการป้องกันและควบคุมโรคให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปราศจากการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. .อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกๆสัปดาห์
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
  4. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนให้ เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. จำนวนอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
    2. ประชาชนมีความรู้และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
    3. ประชาชนตระหนักและเห็นความสำคัญในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงโดยทำร่วมกับแกนนำชุมชนทุกๆสัปดาห์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 .อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อประชากรแสนคน

     

    2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกๆสัปดาห์
    ตัวชี้วัด : ค่า (HICI) ในชุมชน เป็น 0

     

    3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ

     

    4 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนให้ เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกๆสัปดาห์ (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะอยู่เสมอ (4) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนให้ เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชมร่วมแรง ร่วมใจพิฆาตลูกน้ำยุงลาย ปี 2567 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 67– L8278 -02-004

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมุสตอฟา สะระยะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด