โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ ”
ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านกูแบปุโรง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-2 เลขที่ข้อตกลง 12-2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น เห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริหารรักษาที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคติดต่อ เพิ่มสูงขึ้นโรงพยาบาล จึงต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาล เพื่อรองรับผู้มารับริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอย่างมาก และเป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี เพื่อเหตุผลการค้า และพาณิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน หากปลูกผักรับประทานเองแบบอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้นสำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ในการเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง
อันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในปัจจุบัน เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกันอย่างหลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร และสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เหล่านั้น ยังสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลาทาง ไม่ว่าจะเป็นทางการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ โดยผู้บริโภคจะได้รับพิษทางอ้อม จากผลผลิตทางการเกษตรที่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างปนเปื้อนอยู่ แม้ได้รับในปริมาณต่ำแต่การที่ได้รับเป็นประจำ สารเคมีเหล่านั้นจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น
ดังนั้น กลุ่มเศรฐกิจพอเพียงบ้านกูแบปุโรง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการปลูกผักปลอดสารพิษ ลดเสี่ยง เพื่อสุขภาพดีขึ้น เพื่อให้ความรู้และทักษะการปลูกผักปลอดสารพิษในการบริโภค ปลอดภัย ปลอดสารพิษ แบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษใช้บิโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค
- 2. เพื่อส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน
- 3. เพื่อให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีผักปลอดสารพิษใช้ในครัวเรือน
- มีการส่งเสริมปลูกผักปลอดสารพิษใช้บริโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค
- มีการส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษใช้บิโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำเมล็ดผักที่ได้ไปปลูกในครัวเรือนและได้ผลผลิตเป็นผักปลอดสารพิษร้อยละ 70
2
2. เพื่อส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษใช้บิโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค (2) 2. เพื่อส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน (3) 3. เพื่อให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านกูแบปุโรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ ”
ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
ประธานกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านกูแบปุโรง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-2 เลขที่ข้อตกลง 12-2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น เห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริหารรักษาที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคติดต่อ เพิ่มสูงขึ้นโรงพยาบาล จึงต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาล เพื่อรองรับผู้มารับริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอย่างมาก และเป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี เพื่อเหตุผลการค้า และพาณิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน หากปลูกผักรับประทานเองแบบอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้นสำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ในการเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง อันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในปัจจุบัน เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกันอย่างหลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร และสารเคมีกำจัดศัตรูพืช เหล่านั้น ยังสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลาทาง ไม่ว่าจะเป็นทางการสัมผัสทางผิวหนัง การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ โดยผู้บริโภคจะได้รับพิษทางอ้อม จากผลผลิตทางการเกษตรที่มีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างปนเปื้อนอยู่ แม้ได้รับในปริมาณต่ำแต่การที่ได้รับเป็นประจำ สารเคมีเหล่านั้นจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ดังนั้น กลุ่มเศรฐกิจพอเพียงบ้านกูแบปุโรง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการปลูกผักปลอดสารพิษ ลดเสี่ยง เพื่อสุขภาพดีขึ้น เพื่อให้ความรู้และทักษะการปลูกผักปลอดสารพิษในการบริโภค ปลอดภัย ปลอดสารพิษ แบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษใช้บิโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค
- 2. เพื่อส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน
- 3. เพื่อให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีผักปลอดสารพิษใช้ในครัวเรือน
- มีการส่งเสริมปลูกผักปลอดสารพิษใช้บริโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค
- มีการส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษใช้บิโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำเมล็ดผักที่ได้ไปปลูกในครัวเรือนและได้ผลผลิตเป็นผักปลอดสารพิษร้อยละ 70 |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อปลูกผักปลอดสารพิษใช้บิโภคในครัวเรือนเพื่อสุขภาพแข็งแรงปลอดโรค (2) 2. เพื่อส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน (3) 3. เพื่อให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปลูกผักปลอดสารพิษลดเสี่ยง ลดโรค เพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านกูแบปุโรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......