กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการขยะสะสมทรัพย์ กีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือ ”
ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
ประธานกีรออาตีบ้านตะโละซีโปเหนือ




ชื่อโครงการ โครงการขยะสะสมทรัพย์ กีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือ

ที่อยู่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-4 เลขที่ข้อตกลง 13-2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยะสะสมทรัพย์ กีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะสะสมทรัพย์ กีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยะสะสมทรัพย์ กีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสาเรง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,605.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสาเรง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาหนึ่งของคนไทยที่ส่งผลต่อสุขภาพทางด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจและสังคมซึ่งเป็นสิ่งสำคัญต้องได้รับการดูแลแกก้ไขโดยเฉพาะเรื่องขยะที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจในการป้องกันรักษาสุขภาพในเด็กวัยเรียนและเยาวชน เนื่องจากปัจจุบันมีประชากรในพื้นที่เพิ่มขึ้น จึงทำให้เกิดขยะดพิ่มขึ้นตามมาจึงเป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ กลุ่มเด็กวัยเรียนไม่มีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้องจึงทำให้ขยะเพิ่มมากขึ้นทุกวันอย่างรวดเร็ว ปัญหาขยะจึงเป็นปัญหาใหญ่ที่ต้องการดูแลแก้ไข ทางด้านการให้ความรู้การคัดแยกขยะที่ถูกต้อง การบริหารจัดการขยะที่ถูกวิธี ดังนั้นเพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ซึ่งเป็นการจัดการที่ยังยืน คือการลดปริมาณขยะจากแหล่งกำเนิดต้นทาง (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) หรือตามหลัก 3Rs ซึ่งการจัดการขยะนั้น มุ่งเน้นการจัดการขยะที่ครัวเรือนส่งเสริมการคัดแยกขยะจากต้นทาง เป็นการเพิ่มมูลค่าหรือแปรรูปขยะ ซึ่งจะส่งผลทำให้ปริมาณขยะในภาพรวมลดลง ปัจจุบัน หมู่ที่ 5 มีภาชนะถังขยะรองรับตามจุดต่างๆ และการทิ้งขยะก็ยังไม่มีการคัดแยกประะเภทขยะที่ชัดเจนแต่งอย่างใด ทำให้ปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดมีมากขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวอาจทำให้ส่งผลกระทบต่อการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมในอนาคตได้ ดังนี้ เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกให้กับประชาชน ไ้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ ซึงในการจัดทำโครงการธนาคารขยะ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการดำเนินงานเพิื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะให้ถูกวิธี สามารถสาร้างรายได้ ลดปริมาณขยะและมีกิจกรรมการสร้างความสามัคคีกันในชุมชน เพื่อให้มีระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการป้อกันไม่ให้เกิดโรคระบาดต่างๆ เช่นโรคที่เกิดจากจุลินทรีย์ต่างๆ เช่น ไวรัส รา หรือแบคทีเรียในขยะมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้น ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ชั้นดีของหนู ยุง แมลง แมลงสาบ และแมลงวัน พาหนะนำโรคภัยต่างๆ มาสู่มนุษย์ เช่น โรคท้องร่วง โรคพยาธิต่างๆ โรคบิด รวมถึงเชื้ออหิวาตกโรคและไทฟอยด์ ถ้าหากเรารับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ ก็จะทำให้ได้รับเชื้อต่างๆได้ ดังนั้นกีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือจึงจัดทำโครงการขยะสะสมทรัพทย์ กีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมการคัดแยกขยะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างวินัยในการจัดการขยะ
  2. เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม
  3. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีและลดปริมาณขยะต้นทาง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอยและเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภทสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้งหรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้
    2. มีจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม
    3. ปริมาณขยะลดลง และค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างวินัยในการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนกีรออาตีสมัครสมาชิกกองทุนขยะสะสมทรัพย์ ร้อยละ 100

     

    2 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีการรับฝากขยะเป็นประจำร้อยละ 90

     

    3 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีและลดปริมาณขยะต้นทาง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างวินัยในการจัดการขยะ (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม (3) เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีและลดปริมาณขยะต้นทาง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขยะสะสมทรัพย์ กีรออาตี บ้านตะโละซีโปเหนือ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 2567-L4134-10(2)-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานกีรออาตีบ้านตะโละซีโปเหนือ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด