กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาว




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8018-03-01 เลขที่ข้อตกลง 9/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ



บทคัดย่อ

  1. โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
    (1) เพื่อจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
    (2) เพื่อจัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกัน และลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ
    (3) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรและครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาวมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องอันส่งผลให้ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อได้

  2. ผลการดำเนินงาน   กิจกรรม อบรมเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อ   1. โรคมือ เท้า ปาก เป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กเล็กโดยเฉพาะช่วงหน้าฝน เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอโร Enterovirus 71 (EV71) Coxasackie Virus ส่งผลให้มีอาการเป็นไข้ เป็นแผลในปาก มีตุ่มน้ำใสตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และลำตัว ถือได้ว่าเป็นโรคที่สร้างความกังวลใจให้กับคุณพ่อคุณแม่อยู่ไม่น้อย และสามารถพบในผู้ใหญ่ได้เช่นกัน แต่จะพบได้น้อยกว่า และอาการมักจะไม่รุนแรงเท่าในเด็กเล็ก 1.1 อาการของโรค
      - มีไข้ อ่อนเพลีย

    • มีแผลในปาก
    • ผื่นเป็นจุดแดงขึ้นที่มือ เท้า (อาจมีผื่นตามลำตัว แขนและขาร่วมด้วย) 1.2 ระยะฝักตัว เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจะใช้ระยะเวลาฟักตัวประมาณ 3 - 7 วัน ผู้ป่วยจึงจะแสดงอาการ โดยมีอาการเริ่มต้น คือ เด็กจะเริ่มมีไข้สูง 38 - 39 องศาเซลเซียสเป็นอาการนำก่อน จากนั้นจึงมีอาการอื่น ๆ ตามมาภายใน 1 - 2 วัน ได้แก่ เจ็บคอ ไม่อยากอาหาร อ่อนเพลีย และจะเริ่มมีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนัง บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และบริเวณปากทั้งภายนอกและภายใน 1.3 การติดต่อ โรคมือ เท้า ปาก สามารถติดต่อผ่านการสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วยและจากการสัมผัสทางอ้อมผ่านของเล่น มือผู้เลี้ยงดู น้ำ และอาหารที่มีการปนเปื้อนเชื้อโรค โดยส่วนใหญ่ มักพบการแพร่ระบาดในโรงเรียนอนุบาล และสถานรับเลี้ยงเด็ก 1.4 รักษาและการป้องกัน
      โดยทั่วไปแล้ว อาการโรค มือ เท้า ปาก จะค่อยๆ ดีขึ้นตามลำดับ โดยแพทย์จะดูแลรักษาตามอาการ เช่น การให้รับประทานยาแก้ไข้ ในรายที่เพลียมากแพทย์อาจให้นอนรักษาตัวในโรงพยาบาลและให้น้ำเกลือทางหลอดเลือด ร่วมกับให้ยาลดไข้แก้ปวด ยารักษาแผลในปาก และให้ยาปฏิชีวนะในกรณีที่จำเป็น ร่วมกับการเฝ้าระวังสังเกตอาการของภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง โดยสามารถป้องกันได้โดยวิธี ดังนี้
    • สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกจากบ้าน
    • สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง ให้เด็กๆ ล้างมือให้สะอาด ด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์
    • ทำความสะอาดของเล่น
    • ดูแลความสะอาดของน้ำดื่มและอาหาร
    • หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น แก้วน้ำ
    • ไม่พาเด็กไปในสถานที่แออัด เช่น สนามเด็กเล่น ห้างสรรพสินค้า โดยเฉพาะช่วงระบาด
    • หากเด็กที่ป่วยเป็นโรคมือ เท้า ปาก ควรหยุดเรียน และพักรักษาให้หายป่วยเสียก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้ไปแพร่เชื้อยังเด็กคนอื่นๆ และผู้ปกครองต้องรีบแจ้งให้ทางโรงเรียนทราบ และที่สำคัญต้องหมั่นสังเกตอาการของบุตรหลาน หากพบว่ามีอาการผิดปกติ ควรพาเด็กมาพบแพทย์โดยเร็ว   2. โรคอีสุกอีใส เป็นโรคติดต่อที่มาด้วยอาการไข้ ออกผื่น พบมากในเด็ก เกิดจากการติดเชื้อไวรัสวาริเซลลา - ซอสเตอร์ โดยทั่วไปจะพบอัตราการป่วยได้สูงสุดในกลุ่มอายุ 5 - 9 ปี รองลงมาคือ 0 - 4 ปี,10 - 14 ปี, 15 - 24 ปี และ 25 - 34 ปี ตามลำดับ ในคนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป อาจพบได้บ้าง ซึ่งมักจะเป็นคนที่ไม่เคยป่วยเป็นโรคนี้ หรือไม่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้มาก่อน 2.1 อาการของโรค
      เริ่มจากมีไข้ต่ำๆ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และมีผื่นขึ้นเริ่มจากลำตัว ใบหน้า และลามไปที่แขนขา ผื่นจะขึ้นบริเวณลำตัวมากกว่าแขนขา อาจพบตุ่มในช่องปากและเยื่อบุต่างๆ ลักษณะผื่นตอนแรกจะเป็นผื่นแดง มักมีอาการคันร่วมด้วย ต่อมาจะกลายเป็นตุ่มน้ำอย่างรวดเร็วและตกสะเก็ด ในที่สุดสะเก็ดจะหลุดหายไปในเวลา 5 - 20 วัน 2.2 ระยะฝักตัว ประมาณ 10 - 21 วัน แต่โดยเฉลี่ยคือประมาณ 14 - 17 วัน หลังจากได้รับเชื้อโรคหรือสัมผัสผู้ป่วย 2.3 การติดต่อ ติดต่อโดยการหายใจเอาฝอยละอองจากทางเดินหายใจของผู้ป่วยเข้าไป หรือจากการสัมผัสโดยตรงกับตุ่มน้ำที่ผิวหนังของผู้ป่วยที่อยู่ในระยะแพร่เชื้อ โดยระยะเวลาแพร่เชื้อจะอยู่ในช่วง 1 - 2 วัน ก่อนผื่นขึ้น จนกระทั่งผื่นตกสะเก็ดหมด ดังนั้นเราจึงต้องระมัดระวังในการอยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย 2.4 รักษาและการป้องกัน
    • ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง และหายเองได้
    • การรักษาด้วยยาต้านไวรัสอาจทำให้ระยะเวลาการเป็นโรคสั้นลง หากผู้ป่วยได้รับภายใน 24 ชั่วโมงหลังผื่นขึ้น ซึ่งผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องได้รัยยาต้านไวรัสทุกราย แพทย์มักพิจารณาให้ในรายที่มีความเสี่ยงจะเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
    • ถ้าไข้สูง ให้เช็ดตัวลดไข้ อาจให้ยาลดไข้ในกลุ่มพาราเซตามอล ไม่ควรใช้ยากลุ่มแอสไพลินเพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไรย์ ซึ่งเป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสมองและตับอย่างรุนแรง
    • แพทย์อาจพิจารณาให้รับประทานยากลุ่มแอนตี้ฮีสตามีน หรือทาคาลาไมน์ เพื่อบรรเทาอาการคัน
    • ระวังอย่าให้ผู้ป่วยเกา เพราะอาจเป็นแผลติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนได้ แนะนำผู้ป่วย ตัดเล็บให้สั้น   3. โรคหวัด 3.1 อาการของโรค หมายถึงคนไข้มีอาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน คือ ส่วนอยู่เหนือเส้นเสียงในหลอดลมขึ้นมา จนถึงช่องคอและจมูก ซึ่งสามารถแบ่งอาการไล่ตามอวัยวะที่เกี่ยวข้อง เช่น ในจมูก จะมีน้ำมูก คัดจมูก แสบจมูก จามในคอ จะมีเจ็บคอ คันคอ ระคายคอ ไอ คอแดง ต่อมทอนซิลโต แดง เป็นหนอง ในหลอดลมส่วนต้น มีเสมหะ เสียงแหบ เสียงเปลี่ยน โดยอาจมีอาการร่วมอื่น ๆ นอกเหนือจากอาการของทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ปวดเมื่อย ครั่นเนื้อครั่นตัว คลื่นไส้ ปวดหัว มึนหัว ปวดตัว เบื่ออาหาร ท้องเสีย มีผื่น 3.2 ระยะฝักตัว ระยะฟักตัวประมาณ 1 - 4 วัน เฉลี่ย 2 วัน ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียอย่างเฉียบพลัน เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดแขนขา ปวดข้อ ปวดรอบกระบอกตา ไข้สูง 39 - 40 องศา เจ็บคอคอแดง มีน้ำมูกไหล ไอแห้งๆ ตาแดง อาการไข้ คลื่นไส้อาเจียนจะหายใน 2 วัน แต่ อาการน้ำมูกไหล  คัดจมูกอาจจะอยู่ได้ 1 สัปดาห์ 3.3 การติดต่อ โรคหวัดติดต่อทางอากาศหรือทางสารคัดหลั่งต่าง ๆ ที่ออกจากตัวผู้ป่วย เช่น ไอจามใส่กัน คนอื่นที่มีภูมิต้านทานอ่อนแอ อาจจะนอนน้อยพักผ่อนไม่เพียงพอ ขาดการออกกำลังกาย ก็จะติดเชื้อหวัดได้ง่าย เพราะฉะนั้นเมื่อเป็นหวัด ให้ใส่หน้ากากปิดปากปิดจมูก
      3.4 รักษาและการป้องกัน เมื่อเป็นหวัดสิ่งที่ต้องทำ คือ สังเกตตัวเองว่า หวัดในครั้งนี้เป็นหวัดไวรัสหรือหวัดแบคทีเรีย เพราะมีการรักษาที่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่พบว่าเป็นหวัดไวรัส คือ มีอาการเจ็บ ๆ คอเล็กน้อย มีน้ำมูกเล็กน้อย ไอจามเล็กน้อย เพลีย ๆ เล็กน้อย ประมาณ 2 – 3 วัน ก็หายเองได้ เพียงแค่พักผ่อนให้เพียงพอ บางครั้ง ยังไม่ทันสังเกตตัวเองด้วยซ้ำว่าเป็นหวัด มึน ๆ ทานยาพาราเซตามอลครั้งเดียวก็หายไม่ต้องมาพบแพทย์และหวัดเป็นโรคที่เกิดจากไวรัสในอากาศ ไม่มียารักษาโดยตรง (เพราะไวรัสส่วนใหญ่ไม่มียาฆ่าเชื้อ) ใช้ยารักษาตามอาการ และรอให้หายเอง ซึ่งอาจมีมากถึง 70 – 80% ของจำนวนคนที่เป็นหวัดด้วยซ้ำ สามารถป้องกันได้โดย ดังนี้
    • ใส่หน้ากากปิดปากปิดจมูกเพื่อป้องกันไม่ให้ไอจามใส่คนอื่น หรือถ้าไม่อยากติดเชื้อหวัดจากใคร เวลาที่ต้องอยู่ในสถานที่ที่มีคนเยอะ รถโดยสารสาธารณะ ห้องประชุม โดยเฉพาะเวลามาโรงพยาบาลที่เป็นแหล่งรวมของเชื้อโรค ควรใส่หน้ากากป้องกันไม่ให้รับเชื้อ ล้างมือบ่อย ๆ โอกาสในการติดหวัดก็จะน้อยลง
    • ถ้าหากเป็นหวัดแบคทีเรียที่มีต่อมทอนซิลอักเสบเกิน 6 ครั้งต่อปี หรือเกิน 2 เดือนครั้ง ให้ลองปรึกษาแพทย์หู คอ จมูกเพื่อพิจารณาผ่าตัดต่อมทอนซิลออก อาจจะทำให้เป็นหวัดน้อยลง หากเป็นหวัดบ่อยมาก ๆ เป็นเกือบทุกเดือน หรือเป็นหวัดเชื้อดื้อยา ให้กลับมาพิจารณาตนเอง ว่าได้ดูแลสุขภาพตัวเองบ้างหรือยัง ปล่อยให้ร่างกายอ่อนแอจนป่วยบ่อยหรือไม่ ถ้าเป็นเช่นนั้นให้ปรับสมดุลชีวิตตนเองบ้าง จัดสรรเวลาในการพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกาย ลดความเครียดลง หรือทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น รับประทานอาหารเสริมที่เสริมภูมิคุ้มกันบ้าง   4. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
      4.1 อาการของโรค เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อยมากที่สุดโรคหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งมีหลายสายพันธุ์ พบบ่อยในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว หรือโดยเฉพาะช่วงที่มีอากาศเปลี่ยนแปลง สามารถ พบผู้ติดเชื้อได้ทุกช่วงอายุ ในเด็กเล็กสามารถเป็นได้หลายครั้งในแต่ละปี ในผู้ใหญ่จะเป็นน้อยลงตามลำดับเนื่องจากมีภูมิคุ้มกันมากขึ้น โดยเฉลี่ยเด็กจะเป็นโรคหวัด 6 – 12 ครั้งต่อปี ผู้ใหญ่จะเป็น 2 – 4 ครั้งต่อปี ความรุนแรงของโรคไม่มาก และสามารถหายเองได้ภายในไม่กี่วัน เนื่องจากเกิดจากการติดเชื้อไวรัส จึงเน้นรักษาประคับประคองอาการจนอาการหายดีเอง 4.2 ระยะฝักตัว หลังจากเชื้อไวรัสเข้าสู่ทางเดินหายใจ ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 1 – 7 วัน (โดยเฉลี่ย 2 – 3 วัน) จะเริ่มแสดงอาการอาการของโรคไข้หวัดใหญ่ ได้แก่ ไข้สูงเฉียบพลัน (39 – 40 องศาเซลเซียส) ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลียมาก อาจมีอาการคัดจมูก ไอ จาม เจ็บคอ น้ำมูกไหลลักษณะใส หลอดลมอักเสบอาจมีอาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร ถ่ายอุจจาระเหลว
      4.3 การติดต่อ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมีอยู่มากกว่า 100 ชนิด โดยส่วนใหญ่มักเป็นเชื้อไวรัสประเภทคอรีซา (Coryza Virus) ได้แก่ ไรโนไวรัส (Rhinovirus) และอื่น ๆ ติดต่อผ่านทางน้ำมูก น้ำลาย และเสมหะ โดยการหายใจเอาเชื้อที่กระจายจากการไอหรือหายใจรดกัน หรือมือที่เปื้อนเชื้อโรคสัมผัสจมูกหรือตา ระยะเวลาแพร่เชื้อสามารถแพร่ได้ก่อนเกิดอาการและ 1 – 2 วันหลังเกิดอาการ 4.4 รักษาและการป้องกัน หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้คนที่เป็นโรคหวัดหรือไข้หวัดใหญ่ ลดการสัมผัสกับผู้ป่วยหรือใช้ของร่วมกับผู้ป่วย หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ให้ล้างมือหลังสัมผัส อย่าเอามือสัมผัสหรือถูจมูก หรือขยี้ตาพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายเป็นประจำหลีกเลี่ยงการเข้าใกล้ผู้ป่วยที่กำลังไอหรือจาม หลีกเลี่ยงที่มีคนแออัดในช่วงที่มีการระบาด การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเฉพาะเด็กและผู้สูงอายุ และผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ปัจจุบันแนะนำให้ฉีดวัคซีนได้ตั้งแต่อายุ 6 เดือนขึ้นไป โดยวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลควรฉีดทุก 1 ปีเนื่องจากมีการเปลี่ยนสายพันธุ์บ่อย อาการที่ควรไปพบแพทย์
    • ผู้ที่มีอาการรุนแรง หายใจหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก อ่อนเพลียมาก รับประทานอาหารหรือดื่มน้ำไม่ได้ หรือมีอาการนานกว่า 7 วัน
    • ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน หากมีอาการข้างต้น สงสัยเป็นไข้หวัดใหญ่ควรไปพบแพทย์
    • หากมีอาการไข้สูงนานประมาณ 3 วัน ควรปรึกษาแพทย์ เพราะอาการที่เป็นอยู่อาจมีสาเหตุมาจากโรคอื่นที่คล้ายกันได้ เช่น ไข้เลือดออก

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานศึกษาที่ทำให้เด็ก ๆ ในวัย 2 – 6 ปี เจ็บป่วยได้ง่าย ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพและการเจริญเติบโตของเด็ก แต่หากมีการป้องกัน เฝ้าระวังและมีความพร้อมในการรับมือก็จะช่วยให้เด็ก ๆ ปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บได้โรคที่พบบ่อยในเด็กเล็ก ได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ, โรคมือ เท้า ปาก, โรคหวัด, โรคอีสุกใส (โรคอีสุขอีใส) เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การเกิดโรคระบาดในสถานศึกษา อาจจะต้องทำการปิดการเรียน การสอน เกิดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาให้แก่ผู้ปกครอง ผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กที่บ้านทำให้ขาดรายได้ จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาว ให้มีประสิทธิภาพ โดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ผู้ปกครอง คณะครู พี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เกี่ยวกับโรคติดต่อต่าง ๆ ที่สามารถป้องกันได้ ตั้งแต่การดูแลของครอบครัวและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ และเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการรับมือกับการระบาดของโรคติดต่อ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต       ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาว ได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำ “โครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ” ขึ้น เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้นกับเด็กและสามารถป้องกันโรคด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การลดอัตราการป่วยของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อจัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกัน และลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ
  3. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรและครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาวมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องอันส่งผลให้ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ณรงค์โรคติดต่อ
  2. กิจกรรม อบรมเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อ
  3. กิจกรรม อบรมเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อ
  4. กิจกรรม รณรงค์โรคติดต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 61
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 61
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อของเด็กวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาว
  2. ผู้ปกครอง คณะครู มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคติดต่อและสามารถป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม รณรงค์โรคติดต่อ

วันที่ 1 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดทำไวนิลและเอกสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ
  • จัดกิจกรรมรณรงค์ วิธีการล้างมือ ป้องกันโรค 7 ขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายละเอียดตามเอกสารแนบ

 

122 0

2. กิจกรรม อบรมเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อ

วันที่ 22 สิงหาคม 2567 เวลา 12:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตารางการอบรมตามโครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ กิจกรรม อบรมเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อ เดือน 22 สิงหาคม 2567 เวลา 12.30 – 15.30 น. ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาว - ทำแบบทดสอบก่อน-หลังอบรม - อบรมหัวข้อ “โรคมือ เท้า ปาก, โรคอีสุกอีใส, โรคหวัด” และ “โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ” โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายละเอียดตามเอกสารแนบ

 

122 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ร้อยละ 90

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ร้อยละ 90

2 เพื่อจัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกัน และลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยของเด็กร้อยละ 90

ลดอัตราการป่วยของเด็กร้อยละ 90

3 เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรและครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาวมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องอันส่งผลให้ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อได้
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยของเด็กร้อยละ 90

ลดอัตราการป่วยของเด็กร้อยละ 90

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 122 122
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 61 61
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 61 61
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

  1. โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
    (1) เพื่อจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถป้องกันโรคที่จะเกิดขึ้นกับเด็กได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
    (2) เพื่อจัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุม ป้องกัน และลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ
    (3) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรและครูพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาวมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องอันส่งผลให้ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อได้

  2. ผลการดำเนินงาน   กิจกรรม อบรมเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อ   1. โรคมือ เท้า ปาก เป็นโรคที่พบบ่อยในเด็กเล็กโดยเฉพาะช่วงหน้าฝน เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเทอโร Enterovirus 71 (EV71) Coxasackie Virus ส่งผลให้มีอาการเป็นไข้ เป็นแผลในปาก มีตุ่มน้ำใสตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า และลำตัว ถือได้ว่าเป็นโรคที่สร้างความกังวลใจให้กับคุณพ่อคุณแม่อยู่ไม่น้อย และสามารถพบในผู้ใหญ่ได้เช่นกัน แต่จะพบได้น้อยกว่า และอาการมักจะไม่รุนแรงเท่าในเด็กเล็ก 1.1 อาการของโรค
      - มีไข้ อ่อนเพลีย

    • มีแผลในปาก
    • ผื่นเป็นจุดแดงขึ้นที่มือ เท้า (อาจมีผื่นตามลำตัว แขนและขาร่วมด้วย) 1.2 ระยะฝักตัว เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจะใช้ระยะเวลาฟักตัวประมาณ 3 - 7 วัน ผู้ป่วยจึงจะแสดงอาการ โดยมีอาการเริ่มต้น คือ เด็กจะเริ่มมีไข้สูง 38 - 39 องศาเซลเซียสเป็นอาการนำก่อน จากนั้นจึงมีอาการอื่น ๆ ตามมาภายใน 1 - 2 วัน ได้แก่ เจ็บคอ ไม่อยากอาหาร อ่อนเพลีย และจะเริ่มมีตุ่ม ผื่น หรือแผลอักเสบมีหนองที่ผิวหนัง บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และบริเวณปากทั้งภายนอกและภายใน 1.3 การติดต่อ โรคมือ เท้า ปาก สามารถติดต่อผ่านการสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่งของผู้ป่วยและจากการสัมผัสทางอ้อมผ่านของเล่น มือผู้เลี้ยงดู น้ำ และอาหารที่มีการปนเปื้อนเชื้อโรค โดยส่วนใหญ่ มักพบการแพร่ระบาดในโรงเรียนอนุบาล และสถานรับเลี้ยงเด็ก 1.4 รักษาและการป้องกัน
      โดยทั่วไปแล้ว อาการโรค มือ เท้า ปาก จะค่อยๆ ดีขึ้นตามลำดับ โดยแพทย์จะดูแลรักษาตามอาการ เช่น การให้รับประทานยาแก้ไข้ ในรายที่เพลียมากแพทย์อาจให้นอนรักษาตัวในโรงพยาบาลและให้น้ำเกลือทางหลอดเลือด ร่วมกับให้ยาลดไข้แก้ปวด ยารักษาแผลในปาก และให้ยาปฏิชีวนะในกรณีที่จำเป็น ร่วมกับการเฝ้าระวังสังเกตอาการของภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง โดยสามารถป้องกันได้โดยวิธี ดังนี้
    • สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกจากบ้าน
    • สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง ให้เด็กๆ ล้างมือให้สะอาด ด้วยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์
    • ทำความสะอาดของเล่น
    • ดูแลความสะอาดของน้ำดื่มและอาหาร
    • หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น แก้วน้ำ
    • ไม่พาเด็กไปในสถานที่แออัด เช่น สนามเด็กเล่น ห้างสรรพสินค้า โดยเฉพาะช่วงระบาด
    • หากเด็กที่ป่วยเป็นโรคมือ เท้า ปาก ควรหยุดเรียน และพักรักษาให้หายป่วยเสียก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้ไปแพร่เชื้อยังเด็กคนอื่นๆ และผู้ปกครองต้องรีบแจ้งให้ทางโรงเรียนทราบ และที่สำคัญต้องหมั่นสังเกตอาการของบุตรหลาน หากพบว่ามีอาการผิดปกติ ควรพาเด็กมาพบแพทย์โดยเร็ว   2. โรคอีสุกอีใส เป็นโรคติดต่อที่มาด้วยอาการไข้ ออกผื่น พบมากในเด็ก เกิดจากการติดเชื้อไวรัสวาริเซลลา - ซอสเตอร์ โดยทั่วไปจะพบอัตราการป่วยได้สูงสุดในกลุ่มอายุ 5 - 9 ปี รองลงมาคือ 0 - 4 ปี,10 - 14 ปี, 15 - 24 ปี และ 25 - 34 ปี ตามลำดับ ในคนที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป อาจพบได้บ้าง ซึ่งมักจะเป็นคนที่ไม่เคยป่วยเป็นโรคนี้ หรือไม่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคนี้มาก่อน 2.1 อาการของโรค
      เริ่มจากมีไข้ต่ำๆ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และมีผื่นขึ้นเริ่มจากลำตัว ใบหน้า และลามไปที่แขนขา ผื่นจะขึ้นบริเวณลำตัวมากกว่าแขนขา อาจพบตุ่มในช่องปากและเยื่อบุต่างๆ ลักษณะผื่นตอนแรกจะเป็นผื่นแดง มักมีอาการคันร่วมด้วย ต่อมาจะกลายเป็นตุ่มน้ำอย่างรวดเร็วและตกสะเก็ด ในที่สุดสะเก็ดจะหลุดหายไปในเวลา 5 - 20 วัน 2.2 ระยะฝักตัว ประมาณ 10 - 21 วัน แต่โดยเฉลี่ยคือประมาณ 14 - 17 วัน หลังจากได้รับเชื้อโรคหรือสัมผัสผู้ป่วย 2.3 การติดต่อ ติดต่อโดยการหายใจเอาฝอยละอองจากทางเดินหายใจของผู้ป่วยเข้าไป หรือจากการสัมผัสโดยตรงกับตุ่มน้ำที่ผิวหนังของผู้ป่วยที่อยู่ในระยะแพร่เชื้อ โดยระยะเวลาแพร่เชื้อจะอยู่ในช่วง 1 - 2 วัน ก่อนผื่นขึ้น จนกระทั่งผื่นตกสะเก็ดหมด ดังนั้นเราจึงต้องระมัดระวังในการอยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย 2.4 รักษาและการป้องกัน
    • ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง และหายเองได้
    • การรักษาด้วยยาต้านไวรัสอาจทำให้ระยะเวลาการเป็นโรคสั้นลง หากผู้ป่วยได้รับภายใน 24 ชั่วโมงหลังผื่นขึ้น ซึ่งผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องได้รัยยาต้านไวรัสทุกราย แพทย์มักพิจารณาให้ในรายที่มีความเสี่ยงจะเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
    • ถ้าไข้สูง ให้เช็ดตัวลดไข้ อาจให้ยาลดไข้ในกลุ่มพาราเซตามอล ไม่ควรใช้ยากลุ่มแอสไพลินเพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไรย์ ซึ่งเป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสมองและตับอย่างรุนแรง
    • แพทย์อาจพิจารณาให้รับประทานยากลุ่มแอนตี้ฮีสตามีน หรือทาคาลาไมน์ เพื่อบรรเทาอาการคัน
    • ระวังอย่าให้ผู้ป่วยเกา เพราะอาจเป็นแผลติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนได้ แนะนำผู้ป่วย ตัดเล็บให้สั้น   3. โรคหวัด 3.1 อาการของโรค หมายถึงคนไข้มีอาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน คือ ส่วนอยู่เหนือเส้นเสียงในหลอดลมขึ้นมา จนถึงช่องคอและจมูก ซึ่งสามารถแบ่งอาการไล่ตามอวัยวะที่เกี่ยวข้อง เช่น ในจมูก จะมีน้ำมูก คัดจมูก แสบจมูก จามในคอ จะมีเจ็บคอ คันคอ ระคายคอ ไอ คอแดง ต่อมทอนซิลโต แดง เป็นหนอง ในหลอดลมส่วนต้น มีเสมหะ เสียงแหบ เสียงเปลี่ยน โดยอาจมีอาการร่วมอื่น ๆ นอกเหนือจากอาการของทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ปวดเมื่อย ครั่นเนื้อครั่นตัว คลื่นไส้ ปวดหัว มึนหัว ปวดตัว เบื่ออาหาร ท้องเสีย มีผื่น 3.2 ระยะฝักตัว ระยะฟักตัวประมาณ 1 - 4 วัน เฉลี่ย 2 วัน ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียอย่างเฉียบพลัน เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง ปวดแขนขา ปวดข้อ ปวดรอบกระบอกตา ไข้สูง 39 - 40 องศา เจ็บคอคอแดง มีน้ำมูกไหล ไอแห้งๆ ตาแดง อาการไข้ คลื่นไส้อาเจียนจะหายใน 2 วัน แต่ อาการน้ำมูกไหล  คัดจมูกอาจจะอยู่ได้ 1 สัปดาห์ 3.3 การติดต่อ โรคหวัดติดต่อทางอากาศหรือทางสารคัดหลั่งต่าง ๆ ที่ออกจากตัวผู้ป่วย เช่น ไอจามใส่กัน คนอื่นที่มีภูมิต้านทานอ่อนแอ อาจจะนอนน้อยพักผ่อนไม่เพียงพอ ขาดการออกกำลังกาย ก็จะติดเชื้อหวัดได้ง่าย เพราะฉะนั้นเมื่อเป็นหวัด ให้ใส่หน้ากากปิดปากปิดจมูก
      3.4 รักษาและการป้องกัน เมื่อเป็นหวัดสิ่งที่ต้องทำ คือ สังเกตตัวเองว่า หวัดในครั้งนี้เป็นหวัดไวรัสหรือหวัดแบคทีเรีย เพราะมีการรักษาที่แตกต่างกัน ส่วนใหญ่พบว่าเป็นหวัดไวรัส คือ มีอาการเจ็บ ๆ คอเล็กน้อย มีน้ำมูกเล็กน้อย ไอจามเล็กน้อย เพลีย ๆ เล็กน้อย ประมาณ 2 – 3 วัน ก็หายเองได้ เพียงแค่พักผ่อนให้เพียงพอ บางครั้ง ยังไม่ทันสังเกตตัวเองด้วยซ้ำว่าเป็นหวัด มึน ๆ ทานยาพาราเซตามอลครั้งเดียวก็หายไม่ต้องมาพบแพทย์และหวัดเป็นโรคที่เกิดจากไวรัสในอากาศ ไม่มียารักษาโดยตรง (เพราะไวรัสส่วนใหญ่ไม่มียาฆ่าเชื้อ) ใช้ยารักษาตามอาการ และรอให้หายเอง ซึ่งอาจมีมากถึง 70 – 80% ของจำนวนคนที่เป็นหวัดด้วยซ้ำ สามารถป้องกันได้โดย ดังนี้
    • ใส่หน้ากากปิดปากปิดจมูกเพื่อป้องกันไม่ให้ไอจามใส่คนอื่น หรือถ้าไม่อยากติดเชื้อหวัดจากใคร เวลาที่ต้องอยู่ในสถานที่ที่มีคนเยอะ รถโดยสารสาธารณะ ห้องประชุม โดยเฉพาะเวลามาโรงพยาบาลที่เป็นแหล่งรวมของเชื้อโรค ควรใส่หน้ากากป้องกันไม่ให้รับเชื้อ ล้างมือบ่อย ๆ โอกาสในการติดหวัดก็จะน้อยลง
    • ถ้าหากเป็นหวัดแบคทีเรียที่มีต่อมทอนซิลอักเสบเกิน 6 ครั้งต่อปี หรือเกิน 2 เดือนครั้ง ให้ลองปรึกษาแพทย์หู คอ จมูกเพื่อพิจารณาผ่าตัดต่อมทอนซิลออก อาจจะทำให้เป็นหวัดน้อยลง หากเป็นหวัดบ่อยมาก ๆ เป็นเกือบทุกเดือน หรือเป็นหวัดเชื้อดื้อยา ให้กลับมาพิจารณาตนเอง ว่าได้ดูแลสุขภาพตัวเองบ้างหรือยัง ปล่อยให้ร่างกายอ่อนแอจนป่วยบ่อยหรือไม่ ถ้าเป็นเช่นนั้นให้ปรับสมดุลชีวิตตนเองบ้าง จัดสรรเวลาในการพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกาย ลดความเครียดลง หรือทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น รับประทานอาหารเสริมที่เสริมภูมิคุ้มกันบ้าง   4. โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
      4.1 อาการของโรค เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อยมากที่สุดโรคหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซึ่งมีหลายสายพันธุ์ พบบ่อยในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว หรือโดยเฉพาะช่วงที่มีอากาศเปลี่ยนแปลง สามารถ พบผู้ติดเชื้อได้ทุกช่วงอายุ ในเด็กเล็กสามารถเป็นได้หลายครั้งในแต่ละปี ในผู้ใหญ่จะเป็นน้อยลงตามลำดับเนื่องจากมีภูมิคุ้มกันมากขึ้น โดยเฉลี่ยเด็กจะเป็นโรคหวัด 6 – 12 ครั้งต่อปี ผู้ใหญ่จะเป็น 2 – 4 ครั้งต่อปี ความรุนแรงของโรคไม่มาก และสามารถหายเองได้ภายในไม่กี่วัน เนื่องจากเกิดจากการติดเชื้อไวรัส จึงเน้นรักษาประคับประคองอาการจนอาการหายดีเอง 4.2 ระยะฝักตัว หลังจากเชื้อไวรัสเข้าสู่ทางเดินหายใจ ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 1 – 7 วัน (โดยเฉลี่ย 2 – 3 วัน) จะเริ่มแสดงอาการอาการของโรคไข้หวัดใหญ่ ได้แก่ ไข้สูงเฉียบพลัน (39 – 40 องศาเซลเซียส) ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลียมาก อาจมีอาการคัดจมูก ไอ จาม เจ็บคอ น้ำมูกไหลลักษณะใส หลอดลมอักเสบอาจมีอาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร ถ่ายอุจจาระเหลว
      4.3 การติดต่อ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมีอยู่มากกว่า 100 ชนิด โดยส่วนใหญ่มักเป็นเชื้อไวรัสประเภทคอรีซา (Coryza Virus) ได้แก่ ไรโนไวรัส (Rhinovirus) และอื่น ๆ ติดต่อผ่านทางน้ำมูก น้ำลาย และเสมหะ โดยการหายใจเอาเชื้อที่กระจายจากการไอหรือหายใจรดกัน หรือมือที่เปื้อนเชื้อโรคสัมผัสจมูกหรือตา ระยะเวลาแพร่เชื้อสามารถแพร่ได้ก่อนเกิดอาการและ 1 – 2 วันหลังเกิดอาการ 4.4 รักษาและการป้องกัน หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้คนที่เป็นโรคหวัดหรือไข้หวัดใหญ่ ลดการสัมผัสกับผู้ป่วยหรือใช้ของร่วมกับผู้ป่วย หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ให้ล้างมือหลังสัมผัส อย่าเอามือสัมผัสหรือถูจมูก หรือขยี้ตาพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายเป็นประจำหลีกเลี่ยงการเข้าใกล้ผู้ป่วยที่กำลังไอหรือจาม หลีกเลี่ยงที่มีคนแออัดในช่วงที่มีการระบาด การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเฉพาะเด็กและผู้สูงอายุ และผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ปัจจุบันแนะนำให้ฉีดวัคซีนได้ตั้งแต่อายุ 6 เดือนขึ้นไป โดยวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลควรฉีดทุก 1 ปีเนื่องจากมีการเปลี่ยนสายพันธุ์บ่อย อาการที่ควรไปพบแพทย์
    • ผู้ที่มีอาการรุนแรง หายใจหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก อ่อนเพลียมาก รับประทานอาหารหรือดื่มน้ำไม่ได้ หรือมีอาการนานกว่า 7 วัน
    • ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน หากมีอาการข้างต้น สงสัยเป็นไข้หวัดใหญ่ควรไปพบแพทย์
    • หากมีอาการไข้สูงนานประมาณ 3 วัน ควรปรึกษาแพทย์ เพราะอาการที่เป็นอยู่อาจมีสาเหตุมาจากโรคอื่นที่คล้ายกันได้ เช่น ไข้เลือดออก

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ

รหัสโครงการ 67-L8018-03-01 รหัสสัญญา 9/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 สิงหาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการหนูน้อยสุขภาพดีห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8018-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งยาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด