โครงการหนูน้อยสมวัย ใส่ใจสุขภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการหนูน้อยสมวัย ใส่ใจสุขภาพ |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลบ้านแป้น |
วันที่อนุมัติ | 15 กรกฎาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 กรกฎาคม 2567 - 15 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 35,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านแป้น อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน) ด้วยหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย กล่าวไว้ว่าการปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปี บนพื้นฐาน ในปัจจุบันมีเด็กอายุต่ำกว่า ๕ ปีมากกว่าร้อยละ ๖๐ เป็นเด็กก่อนวัยเรียน เด็กก่อนวัยเรียนจำนวนมากและเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี ต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก การอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพภายใต้บริบทสังคมวัฒนธรรมที่อาศัยอยู่ ด้วยความรักความเอื้ออาทรและความเข้าใจของทุกคนเพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และพัฒนาการ ทางด้านร่างกายตามวัย มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามวัย มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่นสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้อย่างเหมาะสมตามวัย ทั้งนี้ยังเป็นการพัฒนาผู้เรียนรอบด้านโดยเฉพาะด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์สังคมและสติปัญญา ทำให้เด็กเล็กมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มีสุขภาพอนามัยและพัฒนาการ ทางด้านร่างกายตามวัย มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันตนเองไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ทั้งนี้เพื่อให้เด็กเล็กมีความสนใจและรักการออกกำลังกายสามารถมีจินตนาการ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัยและรู้จักประโยชน์และโทษของการออกกำลังกายและมีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตามวัย เด็กเล็กมีความสุขสนุกสนานเพลินเพลิดในกิจกรรมมีความรักสามัคคีกันและฝึกการรอคอยการเป็นผู้นำ ผู้ตามและการปฏิบัติกิจกรรมกับผู้อื่นได้เด็กเล็กมีสุขภาพจิตดีสดชื่นแจ่มใสและจิตใจอ่อนโยน มีสมาธิ ผ่อนคลาย เด็กเล็กมีสุนทรียภาพต่อดนตรีและการเคลื่อนไหวและจังหวะโดยการจัดกิจกรรมการออกกำลังกายที่หลากหลาย |
68.22 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน) |
68.22 | 70.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 35,000.00 | 0 | 0.00 | |
19 ก.ค. 67 | การประชุมคณะทำงาน | 0 | 0.00 | - | ||
1 - 31 ส.ค. 67 | อบรมความปลอดภัยในการใช้จักรยานขาไถในการออกกำลังกาย | 0 | 13,300.00 | - | ||
1 - 31 ส.ค. 67 | การละเล่นเสริมพัฒนาการเด็กและออกกำลังกายกลางแจ้ง | 0 | 13,300.00 | - | ||
14 - 24 ส.ค. 67 | รวมพลคนรักษ์สุขภาพ | 0 | 8,400.00 | - | ||
6 ก.ย. 67 | ประชุมสรุปผลการดำเนิน | 0 | 0.00 | - |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.ค. 2567 00:00 น.