กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข ”
ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลซูกูร ซายากะ




ชื่อโครงการ โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8413-2-12 เลขที่ข้อตกลง 28/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L8413-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,850.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสังคมปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้มนุษย์มีเครื่องทุ่นแรงมากมาย เป็นผลให้การใช้แรงงานในชีวิตประจำวันลดน้อยลง ประกอบกับการต่อสู้แข่งขันในเรื่องการศึกษา การทำมาหากิน ทำให้การออกกำลังกายเปรียบเสมือนสิ่งฟุ่มเฟือยแทนที่จะเป็นสิ่งจำเป็น จึงมีคนจำนวนมากที่ออกกำลังกายไม่พอ หรือขาดการออกกำลังกาย จนถึงขั้นเกิดโทษแก่ร่างกาย วิถีชีวิตการดำรงชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปและกลุ่มประชากรวัยทำงาน กลุ่มเตรียมเพื่อวัยสูงอายุ กลุ่มผู้สูงอายุ ก็มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป มีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ควรปรารถนา ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูงสามารถออกกำลังกายเพื่อป้องกันให้มีร่างกายสุขภาพที่แข็งแรง การออกกำลังกายนอกจากจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บแล้วยังทำให้สุขภาพจิตใจดีตามไปด้วย การออกกำลังกายแต่ละอย่างก็จะเหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุแตกต่างกันไปแต่มีการออกกำลังกายรูปแบบหนึ่งที่เหมาะสมกับทุกเพศทุกวัยหรือแม้กระทั่งผู้สูงอายุ ซึ่งอาจจะมีการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวที่ล่าช้าหรือไม่คล่องแคล่วเหมือนวัยอื่นๆ นั้นคือการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าเพราะนอกจากใช้เป็นท่าในการออกกำลังกายแล้ว ยังทำให้ร่างกายตื่นตัว แข็งแรงและเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อด้วย เทศบาลตำบลบาลอ ได้เห็นถึงความสำคัญถึงประโยชน์มากมายของการออกกำลังกายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยใช้ผ้าขาวม้า จึงได้จัดทำโครงการขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข ในกลุ่มเตรียมเพื่อวัยสูงอายุ กลุ่มผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค และการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่อง รู้ทันโรคในผู้สูงอายุ สามารถให้ห่างไกลจากโรคภัยได้
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และมีสุขภาพจิตที่ดี
  4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข
  2. กิจกรรมจัดอบรม ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่อง รู้ทันโรคในผู้สูงอายุ สามารถให้ห่างไกลจากโรคภัยได้
  2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และมีสุขภาพจิตที่ดี
  3. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมได้รับการตรวจสุขภาพ เบื้องต้น

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่อง รู้ทันโรคในผู้สูงอายุ สามารถให้ห่างไกลจากโรคภัยได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ เพิ่มมากขึ้น จากแบบสอบถามก่อนและหลัง

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และมีสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพได้ จากแบบสอบถามก่อนและหลัง

 

4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่อง รู้ทันโรคในผู้สูงอายุ สามารถให้ห่างไกลจากโรคภัยได้ (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และมีสุขภาพจิตที่ดี (4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข (2) กิจกรรมจัดอบรม ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยผ้าขาวม้าพาสุข จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L8413-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลซูกูร ซายากะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด