กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี ประจำปี 2567 ”
ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายนิเดร์ เจ๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี ประจำปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านโกตาบารู ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ได้มีการทำประชาคมปัญหาสุขภาพของ หมู่ที่ 1 ตำบลโกตาบารู อ.รามัน จังหวัดยะลา พบว่าโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในพื้นที่ คือโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดจากปัญหาสุขภาพดังกล่าว พบว่าในชุมชนมีผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น ต้องรับการบริการรักษาพยาบาลตลอดชีวิตสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากซึ่งส่งผลกระทบต่อครอบครัว เป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผักผลไม้ที่มีสารเคมีตกค้างเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุทางการค้าทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง การรับประทานผักอาหารที่มีกากใยมาก อาหารที่มีเบต้า-แคโรทีน วิตามินเอและวิตามินซีสูง ซึ่งสามารถรับประทานได้จากผักและผลไม้ โดยเฉพาะผักปลอดสารพิษที่สามารถปลูกรับประทานเองได้ในครัวเรือน ถือเป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันปัญหาโรคไม่ติดต่อและเป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน โดยเน้นการให้สุขศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการบริโภคผัก และการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือน
ดังนั้นกลุ่มสภาผู้นำชุมชนน่าอยู่บ้านโกตาบารู  เห็นถึงความสำคัญของสุขภาพของประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านโกตาบารู จึงได้จัดทำโครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่บริโภคผักปลอดสารพิษเพื่อลดโรคและเพื่อลดกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค ตลอดจนการสร้างค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนเพิ่มมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเวทีให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาพที่ดีชีวียืนยาว
  2. 2.กิจกรรมเวทีถอดบทเรียนโครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้ดำเนินงานในกิจกรรมเวทีถอดบทเรียนโครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี จำนวน 60 คน ๆ ละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 1

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ90 มีผักปลอดสารพิษใช้ในครัวเรือน
  2. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ90 บริโภคผักปลอดสารพิษเพื่อการส่งเสริมการมีสุขภาพที่แข็งแรงปลอดภัยจากโรค
  3. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ90 มีการต่อยอดสามารถส่งเสริมค่านิยมในการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชนได้
  4. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ90 มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคพืชผักปลอดสารเคมี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเวทีให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาพที่ดีชีวียืนยาว (2) 2.กิจกรรมเวทีถอดบทเรียนโครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้ดำเนินงานในกิจกรรมเวทีถอดบทเรียนโครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี จำนวน  60  คน ๆ ละ  25 บาท/มื้อ จำนวน 1

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดเสียง ลดโรค เพื่อสุขภาพที่ดี ประจำปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิเดร์ เจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด