กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการผู้สูงวัยบ้านเขาเพดาน รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7




ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัยบ้านเขาเพดาน รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง

ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1523-2-20 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงวัยบ้านเขาเพดาน รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัยบ้านเขาเพดาน รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงวัยบ้านเขาเพดาน รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1523-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทย ที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญ ให้การยก ย่องนับถือเนื่องจากเป็นกลุ่มบุคคลที่เคยเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศเมื่อครั้งยังอยู่ในวัยทำงานสำหรับ ประเทศไทยสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วกลุ่มผู้สูงอายุจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่สังคม จำเป็นต้องเตรียมการและให้การช่วยเหลือเกื้อกูลให้สามารถใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สุขภาพ ช่องปากจัดเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญกับสุขภาพ อาทิการสูญเสียฟันจำนวนมากจะลดประสิทธิภาพการเคี้ยว อาหารทำให้ต้องเลือกกินอาหารที่เคี้ยวง่ายซึ่งมีไขมันสูงคลอเลสเตอรอลสูง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกากใยซึ่งร่างกาย จำเป็นต้องได้รับการสูญเสียฟันทั้งปากเป็นปัจจัยเสี่ยงของการมีน้ำหนักลดลงและมีปัญหาในการสื่อสารหรือร่วม กิจกรรมในสังคมการมีปัจจัยเสี่ยงร่วมกันระหว่างโรคเรื้อรังกับโรคในช่องปาก เช่น โรคปริทันต์กับเบาหวาน โรคหัวใจ โรคทางระบบทางเดินหายใจและสุขภาพจิต เป็นต้น สำหรับสุขภาพช่องปาก จากกระแสพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ความว่า “เวลาไม่มีฟันกินอะไรก็ไม่อร่อย ทำให้ไม่มีความสุขจิตใจก็ ไม่สบายร่างกายก็ไม่แข็งแรง” ทำให้เห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ชัดเจน ในกลุ่มอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป ทำให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหารลดลงชัดเจน แม้ว่ากลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นจะมี จำนวนมากกว่าครึ่ง มีฟันถาวร ๒๐ ซี่ แต่ฟันถาวรที่เหลือนั้นยังมีปัญหารอยโรคและความผิดปกติในช่องปากที่ จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการลุกลามที่นำไปสู่ความเจ็บปวดและการสูญเสียฟัน ปัญหาที่ สำคัญได้แก่ การสูญเสียฟันโดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในผู้สูงอายุ ๖๐-๗๔ ปี เพิ่มสูงขึ้นส่งผลกระทบต่อ คุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การเคี้ยวอาหาร การกลืน สำลักอาหารบ่อยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต การขาดความมั่นใจไม่กล้ายิ้มเมื่อเข้าสังคมเกิดเป็นปัญหาทั้งสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการลดการสูญเสียฟัน ให้กลุ่มผู้สูงอายุมีฟันใช้เคี้ยวอาหารอย่างเหมาะสม เพิ่มขึ้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ม.๓ (บ้านเขาเพดาน) จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพปาก และฟันของผู้สูงอายุจึงเห็นสมควรส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดีจึงได้จัดทำ โครงการผู้สูงวัยบ้านเขา เพดาน รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง เพื่อเป็นการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้ ซึ่งในระยะยาวจะลดการสูญเสียฟัน ลดความต้องการฟันเทียมเมื่อเข้าสู่วัย สูงอายุต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้,มีทักษะเรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ๒. เพื่อประเมินสภาวะช่องปากของผู้สูงอายุ 3. เพื่อส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาช่องปาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม
  2. กิจกรรมที่ 2 ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
  3. กิจกรรมที่ 3 การส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องรอยโรคในช่องปากและมีทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ส่งผลให้มีสุขภาพช่องปากที่ดี ปัญหาโรคฟันผุเกิดลดน้อยลง รู้ถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของตนเอง สามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นด้วยตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้,มีทักษะเรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ๒. เพื่อประเมินสภาวะช่องปากของผู้สูงอายุ 3. เพื่อส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาช่องปาก
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ80 ผู้สูงอายุ มีความรู้,มีทักษะเรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ๒. ร้อยละ 100 ของผุ้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพช่องปาก 3. ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับการส่งต่อพบทันตแพทย์

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้,มีทักษะเรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง      ๒. เพื่อประเมินสภาวะช่องปากของผู้สูงอายุ      3. เพื่อส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาช่องปาก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม (2) กิจกรรมที่ 2 ฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องและตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมที่ 3 การส่งต่อผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงวัยบ้านเขาเพดาน รู้ทันโรค ใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1523-2-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด