กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้


“ โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพเป็นหมอประจำครอบครัว (ผู้สูงอายุ, ความดัน, เบาหวาน) ”

ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม

ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพเป็นหมอประจำครอบครัว (ผู้สูงอายุ, ความดัน, เบาหวาน)

ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1460-01-09 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพเป็นหมอประจำครอบครัว (ผู้สูงอายุ, ความดัน, เบาหวาน) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพเป็นหมอประจำครอบครัว (ผู้สูงอายุ, ความดัน, เบาหวาน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพเป็นหมอประจำครอบครัว (ผู้สูงอายุ, ความดัน, เบาหวาน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1460-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์แล้ว โดยปี 2566 มีผู้สูงวัย 20% วัยแรงงาน 63% และวัยเด็กเพียง 16% และคาดว่าในปี 2583 เข้าสู่ “สังคมสูงอายุระดับสุดยอด” คาดการณ์ว่าจะมีผู้สูงอายุถึง 30% ขณะที่วัยแรงงานลดลงเหลือ 55% และวัยเด็กเพียง 12% ซึ่งเมื่ออายุเพิ่มขึ้นสภาพร่างกายและระบบการทำงานของระบบต่างๆ ในร่างกายจะเสื่อมถอยลงไป จึงมีแนวโน้มการเจ็บป่วยได้ง่ายและเรื้อรัง ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ โดยทุกการเปลี่ยนแปลงส่งผลให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตได้ไม่เหมือนเดิม และอาจส่งผลกระทบกับผู้ดูแลและครอบครัวไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง การทำความรู้จัก และเข้าใจถึงภาวะการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุตามวัย จะเป็นประตูบานแรกที่เชื่อมความเข้าใจระหว่างผู้ดูแลผู้สูงอายุ สามารถทำความเข้าใจ ป้องกัน และดูแลได้ โดยการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุทั้ง 9 ด้าน คือ การมองเห็น การกลั้นปัสสาวะ การได้ยิน การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ความคิดความจำ ภาวะซึมเศร้า(2Q) การเคลื่อนไหว สุขภาพช่องปาก และภาวะขาดสารอาหาร ซึ่งการดำเนินงานให้ครอบคลุมกับสุขภาพของผู้สูงอายุทั้ง 9 ด้านนั้น สามารถทำให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาพ และสุขภาวะที่ดีได้ แต่การที่จะทำให้ครอบคลุมทั้ง 9 ด้านนั้นเป็นเรื่องยากเพราะปัจจุบันบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ จึงจำเป็นต้องมีการเพิ่มทักษะองค์ความรู้ด้านต่างๆให้ทันต่อสถานการณ์ เพื่อแก้ไขปัญหาระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ       โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งนับวันจะมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนั้นยังพบว่า เมื่ออายุสูงขึ้น มีโอกาสเป็นโรคดังกล่าวได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้โรคเบาหวานทำให้เกิดโรคเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะต่างๆของร่างกาย ได้แก่ ตา ไต หัวใจ ระบบประสาท แผลเรื้อรัง เสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น ส่วนโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขึ้นมีโอกาสเกิดภาวะหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น 3-4 เท่า และโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น 3-8 เท่า ภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวนำไปสู่การสิ้นเปลืองด้านทรัพยากร งบประมาณ อุปกรณ์ ตลอดจนเวชภัณฑ์ต่างๆ ในการรักษาพยาบาล ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ด้วยการเรียนรู้ หาแนวทางเพื่อป้องกันและส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงสูงตั้งแต่เนิ่นๆ ก่อนที่จะป่วยด้วยโรคดังกล่าว
      สมาธิบำบัดแบบ SKT คือการทำสมาธิที่เกิดจากการผสานศาสนศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาร่างกายให้สามารถเยียวยาตัวเองได้โดยมีหลักการสำคัญคือ ปรับการทำงานของร่างกายทั้งระบบให้อยู่ในภาวะปกติ โดยนำองค์ความรู้ทั้งเรื่องสมาธิ โยคะ ชี่กง การออกกำลังกายแบบยืดเหยียด การปฏิบัติสมาธิด้วยเทคนิคการหายใจ และการควบคุมประสาทสัมผัสทางตาและหู ผสมผสานกัน จนพัฒนาเป็นรูปแบบสมาธิบำบัดแบบใหม่ขึ้น 7 เทคนิค หรือเรียกว่า SKT 1-7 ที่ช่วยเยียวยาผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ศาสตราจารย์ ดร.สมพร กันทรดุษฎีเตรียมชัยศรี ใช้เวลาวิจัยและทดลองเยียวยาผู้ป่วยมานานกว่า 20ปี จนได้ผลสรุปออกมาเป็นเทคนิค 7 ประการ โดยผู้ฝึกไม่จำเป็นต้องปฏิบัติทุกเทคนิค เพราะแต่ละเทคนิคเหมาะสมกับสภาพร่างกายหรืออาการเจ็บป่วยของคนแต่ละคนทั้งนี้การทำสมาธิแบบ SKT สามารถทำควบคู่ไปกับการรักษาโรคได้ทุกรูปแบบ ช่วยลดระดับความดันโลหิต ลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่ออื่นๆ ได้หลากหลาย เป็นการดูแลและเยียวยาตนเองโดยไม่ใช้งบประมาณ และสามารถทำได้ทุกที่ เวลา เพศ วัย ศาสนา ทดสอบแล้วว่าไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติ       โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม เล็งเห็นความสำคัญของ ปัญหาผู้สูงอายุ ปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และแนวทางแก้ไขเพื่อป้องกันและเยียวยา จึงจำเป็นต้องให้แกนนำสุขภาพได้รับการฝึกฝนทักษะให้พร้อมและทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน จึงได้จัดทำโครงการโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพเป็นหมอประจำครอบครัว (ผู้สูงอายุ, ความดัน, เบาหวาน) ขึ้น เพื่อให้มีความรู้และมีทักษะสามารถคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน มีบุคคลต้นแบบสามารถใช้นวัตกรรม SKT ในการดูแลตนเองของกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อประชาชนได้มีการเรียนรู้และมีแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค สามารถดูแลตนเอง ลดภาระในการดูแลของครอบครัว และสังคม มีสุขภาพ และสุขภาวะที่ดี ลดอุบัติการณ์จากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้แกนนำได้รับความรู้และมีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
  2. 1.เพื่อให้แกนนำได้รับความรู้และมีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
  3. 2.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง
  4. 2.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง
  5. 3.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ขั้นเตรียมการ
  2. กิจกรรมที่ 2 ขั้นดำเนินการ
  3. กิจกรรมที่ 2 ขั้นดำเนินการ
  4. กิจกรรมที่ 3 สรุปผลและประเมินผลโครงการ
  5. 1.1 จัดทำรายละเอียดโครงการ 1.2 ติดต่อเชิญวิทยากร 1.3 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.4 แจ้งประชาสัมพันธ์โครงการ 1.5 จัดทำเอกสารประกอบการประชุมอบรม
  6. 2.1 ให้ความรู้ ให้มีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน 2.2 ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการดูแลโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2.3 ออกกำลังกาย บริหารกาย ประสานจิตเพื่อการเยียวยาสุขภาพ หรือการทำสมาธิบำบัด SKT เพื่อป้องกันและเยียวยาโรคความดันโลหิตสูง และเบาหว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินทุกองค์ประกอบ ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม จนสามารถดูแลตนเอง ลดภาระในการดูแลของครอบครัว และสังคม มีสุขภาพ และสุขภาวะที่ดี
  2. ประชาชนมีทางเลือกในการป้องกัน และเยียวยาโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จนสามารถลดอุบัติการณ์จากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  3. มีบุคคลต้นแบบใช้นวัตกรรม SKT ในการดูแลตนเองของกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้แกนนำได้รับความรู้และมีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ตัวชี้วัด : 1.แกนนำความรู้และมีทักษะสามารถคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน

 

2 1.เพื่อให้แกนนำได้รับความรู้และมีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ตัวชี้วัด : 1.แกนนำความรู้และมีทักษะสามารถคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน

 

3 2.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 2.แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง

 

4 2.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 2.แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง

 

5 3.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 3.แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้แกนนำได้รับความรู้และมีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน (2) 1.เพื่อให้แกนนำได้รับความรู้และมีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน (3) 2.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง (4) 2.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง (5) 3.เพื่อให้แกนนำได้ฟื้นฟูความรู้และมีทักษะในการดูแลติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ขั้นเตรียมการ (2) กิจกรรมที่ 2 ขั้นดำเนินการ (3) กิจกรรมที่ 2 ขั้นดำเนินการ (4) กิจกรรมที่ 3 สรุปผลและประเมินผลโครงการ (5) 1.1 จัดทำรายละเอียดโครงการ 1.2 ติดต่อเชิญวิทยากร 1.3 เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.4 แจ้งประชาสัมพันธ์โครงการ 1.5 จัดทำเอกสารประกอบการประชุมอบรม (6) 2.1 ให้ความรู้ ให้มีทักษะสามารถการคัดกรองผู้สูงอายุ 9 ด้าน 2.2 ฟื้นฟูความรู้และทักษะในการดูแลโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 2.3 ออกกำลังกาย บริหารกาย ประสานจิตเพื่อการเยียวยาสุขภาพ หรือการทำสมาธิบำบัด SKT เพื่อป้องกันและเยียวยาโรคความดันโลหิตสูง และเบาหว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพเป็นหมอประจำครอบครัว (ผู้สูงอายุ, ความดัน, เบาหวาน) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1460-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคี่ยม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด