โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ”
ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
หัวหน้าสำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้
ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1460-01-11 เลขที่ข้อตกลง 13/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้
บทคัดย่อ
“สุขภาพ” หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเปนองครวมอยางสมดุล และการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง การกระทำที่มุ่งส่งเสริมและและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทางกาย จิต ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม การป้องกันโรค หมายถึง การกระทำหรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วย หรือ เป็นโรคแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือก่อนการเจ็บป่วย การป้องกันโรคในระยะที่เกิดโรคหรือเจ็บป่วยขึ้นแล้ว และการป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพเมื่อหายจากการเจ็บป่วยแล้ว
ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศที่ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนกระทั่งปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาโรคมากขึ้น ดังนั้นครอบครัวและสังคมจึงหันมาใส่ใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุนั้นจะต้องเป็นการดูแลครบทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งโรคในผู้สูงอายุที่พบบ่อย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ข้อเข่าเสื่อม สมองเสื่อม โรคซึมเศร้า เป็นต้น ล้วนเป็นโรคที่จำเป็นต้องป้องกันดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุตั้งแต่ต้นด้วยการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อโรค ตลอดจนการรักษา บำบัด ฟื้นฟูเมื่อเป็นโรคแล้ว ดังนั้น การดูแลสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพต้องดูแลให้เหมาะสมทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุแล้วนั้นจะได้มีสุขภาพที่ดี ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นอีกศาสตร์ที่น่าสนใจในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยศาสตร์ทางแพทย์แผนไทยนั้น จะแบ่งอายุช่วงวัยเป็น 3 ช่วง เรียกว่า อายุสมุฏฐานโดยแบ่งออกเป็น 3 วัย คือ ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย โดยแต่ละช่วงวัยจะมีการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน ตำบลกันตังใต้มีประชากรทุกช่วงวัย โดยมีประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ และประชากรวัยทำงานเป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมงพื้นบ้าน และอาชีพรับจ้าง ผู้สูงอายุที่ยังสามารถทำงานได้นั้นทำอาชีพรับจ้างลอกใบจากเพื่อเป็นการหารายได้ ซึ่งใบจากถือเป็นสินค้าทางการเกษตรพื้นบ้านในตำบลกันตังใต้ การสับ – ลอก ใบจากเป็นเวลานานนั้นส่งผลให้ผู้สูงอายุและประชาชนที่ประกอบอาชีพนี้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น ปวดกล้ามเนื้อ บ่า คอ หลัง ขาและหัวเข่า จากกิจวัตรประจำวันที่เกิดจากการทำงาน ดังนั้นการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนในตำบลกันตังใต้ เช่นการสอนวิธีการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยตนเอง การให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ป้องกันและรักษาโรคเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เพื่อลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายและลดโอกาสการเกิดโรคที่รุนแรง
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงสุขภาพของประชาชนในตำบลกันตังใต้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ประจำปี 2567 เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และสามารถนำความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาปรับใช้เพื่อการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“สุขภาพ” หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเปนองครวมอยางสมดุล และการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง การกระทำที่มุ่งส่งเสริมและและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทางกาย จิต ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม การป้องกันโรค หมายถึง การกระทำหรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วย หรือ เป็นโรคแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือก่อนการเจ็บป่วย การป้องกันโรคในระยะที่เกิดโรคหรือเจ็บป่วยขึ้นแล้ว และการป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพเมื่อหายจากการเจ็บป่วยแล้ว
ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศที่ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนกระทั่งปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาโรคมากขึ้น ดังนั้นครอบครัวและสังคมจึงหันมาใส่ใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุนั้นจะต้องเป็นการดูแลครบทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งโรคในผู้สูงอายุที่พบบ่อย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ข้อเข่าเสื่อม สมองเสื่อม โรคซึมเศร้า เป็นต้น ล้วนเป็นโรคที่จำเป็นต้องป้องกันดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุตั้งแต่ต้นด้วยการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อโรค ตลอดจนการรักษา บำบัด ฟื้นฟูเมื่อเป็นโรคแล้ว ดังนั้น การดูแลสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพต้องดูแลให้เหมาะสมทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุแล้วนั้นจะได้มีสุขภาพที่ดี ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นอีกศาสตร์ที่น่าสนใจในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยศาสตร์ทางแพทย์แผนไทยนั้น จะแบ่งอายุช่วงวัยเป็น 3 ช่วง เรียกว่า อายุสมุฏฐานโดยแบ่งออกเป็น 3 วัย คือ ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย โดยแต่ละช่วงวัยจะมีการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน ตำบลกันตังใต้มีประชากรทุกช่วงวัย โดยมีประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ และประชากรวัยทำงานเป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมงพื้นบ้าน และอาชีพรับจ้าง ผู้สูงอายุที่ยังสามารถทำงานได้นั้นทำอาชีพรับจ้างลอกใบจากเพื่อเป็นการหารายได้ ซึ่งใบจากถือเป็นสินค้าทางการเกษตรพื้นบ้านในตำบลกันตังใต้ การสับ – ลอก ใบจากเป็นเวลานานนั้นส่งผลให้ผู้สูงอายุและประชาชนที่ประกอบอาชีพนี้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น ปวดกล้ามเนื้อ บ่า คอ หลัง ขาและหัวเข่า จากกิจวัตรประจำวันที่เกิดจากการทำงาน ดังนั้นการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนในตำบลกันตังใต้ เช่นการสอนวิธีการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยตนเอง การให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ป้องกันและรักษาโรคเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เพื่อลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายและลดโอกาสการเกิดโรคที่รุนแรง
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงสุขภาพของประชาชนในตำบลกันตังใต้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ประจำปี 2567 เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และสามารถนำความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาปรับใช้เพื่อการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- 2. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้สามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ขั้นเตรียมการ
- 2.ขั้นดำเนินการ
- 3.สรุปผลการดำเนินโครงการ
- 1. ขั้นเตรียมการ
- ๑. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- 2. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีความรู้ในการใช้สมุนไพร และการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีสุขภาพดี สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกันตังใต้ จำนวน 16,650 บาท โดยได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2567 ณ ห้องประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ กลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนในตำบลกันตังใต้ จำนวน 30 คน มีกิจกรรมบรรยายให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เช่นการดูแลสุขภาพตามสมุฏฐานธาตุเจ้าเรือน สมุนไพรใกล้ตัวและวิธีการนำไปใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย กิจกรรมฝึกปฏิบัติการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ศีรษะ คอ บ่า ไหล่ กิจกรรมฝึกปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพร และยาดมพิมเสนน้ำสมุนไพร พบว่า ประชาชนตำบลกันตังใต้ มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น และสามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
บรรลุตามวัตถุประสงค์ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..................16,650.00 บาท........
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ..................16,069.00 บาท........ คิดเป็นร้อยละ.....96.51...
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..........................581 บาท......... คิดเป็นร้อยละ........3.49……...
มีรายละเอียดการเบิกจ่าย ดังนี้
1. จัดจ้างทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20 x 2.80 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500.00 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องศาสตร์การแพทย์แผนไทย จำนวน 1 คน จำนวน
2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
3. จัดจ้างทำเอกสารความรู้ประกอบการอบรม จำนวน 30 เล่ม เล่มละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
4. จัดซื้อปากกาลูกลื่น จำนวน 30 ด้าม ด้ามละ 5 บาท เป็นเงิน 150 บาท
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 2 มื้อๆละ 30 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,520 บาท โดยจำแนกเป็น
- กลุ่มเป้าหมายหลักที่เข้ารับการอบรม จำนวน 30 คน
- ประธานในพิธีเปิดโครงการ แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม จำนวน 6 คน
- เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน 2 คน
- ผู้สังเกตการณ์ จำนวน 4 คน
6. ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,520 บาท โดยจำแนกเป็น
- กลุ่มเป้าหมายหลักที่เข้ารับการอบรม จำนวน 30 คน
- ประธานในพิธีเปิดโครงการ แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม จำนวน 6 คน
- เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน 2 คน
- ผู้สังเกตการณ์ จำนวน 4 คน
7. วิทยากรให้ความรู้และสอนปฏิบัติการนวดไทยเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ จำนวน 2 คน จำนวน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
8. วิทยากรให้ความรู้และสอนปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพรและยาดมสมุนไพร จำนวน 2 คน จำนวน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
9. จัดซื้อชุดอุปกรณ์ผลิตยาลูกประคบสมุนไพร จำนวน 30 ชุด ชุดละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
10. จัดซื้อชุดอุปกรณ์ผลิตยาดมสมุนไพร จำนวน 30 ชุด ชุดละ 35 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท
11. จัดซื้อสมุนไพรสดใช้สำหรับสาธิตทำยาลูกประคบสมุนไพร 1 ชุด เป็นเงิน 300 บาท
12. จัดซื้อมีด จำนวน 1 เล่มๆละ 150 บาท เป็นเงิน 89 บาท
13. จัดซื้อเขียง จำนวน 1 อันๆละ 60 บาท เป็นเงิน 20 บาท
14. จัดซื้อถุงมือยาง จำนวน 1 กล่อง เป็นเงิน 220 บาท
รวมงบประมาณรายจ่ายในโครงการทั้งหมด จำนวน 16,069 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันหกสิบเก้า บาทถ้วน)
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน -ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนตำบลกันตังใต้มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ อย่างน้อยร้อยละ 80
2
2. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้สามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนตำบลกันตังใต้สามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง อย่างน้อยร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
“สุขภาพ” หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเปนองครวมอยางสมดุล และการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง การกระทำที่มุ่งส่งเสริมและและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทางกาย จิต ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม การป้องกันโรค หมายถึง การกระทำหรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วย หรือ เป็นโรคแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือก่อนการเจ็บป่วย การป้องกันโรคในระยะที่เกิดโรคหรือเจ็บป่วยขึ้นแล้ว และการป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพเมื่อหายจากการเจ็บป่วยแล้ว
ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศที่ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนกระทั่งปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาโรคมากขึ้น ดังนั้นครอบครัวและสังคมจึงหันมาใส่ใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุนั้นจะต้องเป็นการดูแลครบทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งโรคในผู้สูงอายุที่พบบ่อย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ข้อเข่าเสื่อม สมองเสื่อม โรคซึมเศร้า เป็นต้น ล้วนเป็นโรคที่จำเป็นต้องป้องกันดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุตั้งแต่ต้นด้วยการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อโรค ตลอดจนการรักษา บำบัด ฟื้นฟูเมื่อเป็นโรคแล้ว ดังนั้น การดูแลสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพต้องดูแลให้เหมาะสมทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุแล้วนั้นจะได้มีสุขภาพที่ดี ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นอีกศาสตร์ที่น่าสนใจในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยศาสตร์ทางแพทย์แผนไทยนั้น จะแบ่งอายุช่วงวัยเป็น 3 ช่วง เรียกว่า อายุสมุฏฐานโดยแบ่งออกเป็น 3 วัย คือ ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย โดยแต่ละช่วงวัยจะมีการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน ตำบลกันตังใต้มีประชากรทุกช่วงวัย โดยมีประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ และประชากรวัยทำงานเป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมงพื้นบ้าน และอาชีพรับจ้าง ผู้สูงอายุที่ยังสามารถทำงานได้นั้นทำอาชีพรับจ้างลอกใบจากเพื่อเป็นการหารายได้ ซึ่งใบจากถือเป็นสินค้าทางการเกษตรพื้นบ้านในตำบลกันตังใต้ การสับ – ลอก ใบจากเป็นเวลานานนั้นส่งผลให้ผู้สูงอายุและประชาชนที่ประกอบอาชีพนี้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น ปวดกล้ามเนื้อ บ่า คอ หลัง ขาและหัวเข่า จากกิจวัตรประจำวันที่เกิดจากการทำงาน ดังนั้นการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนในตำบลกันตังใต้ เช่นการสอนวิธีการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยตนเอง การให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ป้องกันและรักษาโรคเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เพื่อลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายและลดโอกาสการเกิดโรคที่รุนแรง
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงสุขภาพของประชาชนในตำบลกันตังใต้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ประจำปี 2567 เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และสามารถนำความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาปรับใช้เพื่อการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1460-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( หัวหน้าสำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ”
ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
หัวหน้าสำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1460-01-11 เลขที่ข้อตกลง 13/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้
บทคัดย่อ
“สุขภาพ” หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเปนองครวมอยางสมดุล และการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง การกระทำที่มุ่งส่งเสริมและและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทางกาย จิต ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม การป้องกันโรค หมายถึง การกระทำหรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วย หรือ เป็นโรคแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือก่อนการเจ็บป่วย การป้องกันโรคในระยะที่เกิดโรคหรือเจ็บป่วยขึ้นแล้ว และการป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพเมื่อหายจากการเจ็บป่วยแล้ว
ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศที่ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนกระทั่งปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาโรคมากขึ้น ดังนั้นครอบครัวและสังคมจึงหันมาใส่ใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุนั้นจะต้องเป็นการดูแลครบทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งโรคในผู้สูงอายุที่พบบ่อย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ข้อเข่าเสื่อม สมองเสื่อม โรคซึมเศร้า เป็นต้น ล้วนเป็นโรคที่จำเป็นต้องป้องกันดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุตั้งแต่ต้นด้วยการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อโรค ตลอดจนการรักษา บำบัด ฟื้นฟูเมื่อเป็นโรคแล้ว ดังนั้น การดูแลสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพต้องดูแลให้เหมาะสมทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุแล้วนั้นจะได้มีสุขภาพที่ดี ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นอีกศาสตร์ที่น่าสนใจในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยศาสตร์ทางแพทย์แผนไทยนั้น จะแบ่งอายุช่วงวัยเป็น 3 ช่วง เรียกว่า อายุสมุฏฐานโดยแบ่งออกเป็น 3 วัย คือ ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย โดยแต่ละช่วงวัยจะมีการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน ตำบลกันตังใต้มีประชากรทุกช่วงวัย โดยมีประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ และประชากรวัยทำงานเป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมงพื้นบ้าน และอาชีพรับจ้าง ผู้สูงอายุที่ยังสามารถทำงานได้นั้นทำอาชีพรับจ้างลอกใบจากเพื่อเป็นการหารายได้ ซึ่งใบจากถือเป็นสินค้าทางการเกษตรพื้นบ้านในตำบลกันตังใต้ การสับ – ลอก ใบจากเป็นเวลานานนั้นส่งผลให้ผู้สูงอายุและประชาชนที่ประกอบอาชีพนี้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น ปวดกล้ามเนื้อ บ่า คอ หลัง ขาและหัวเข่า จากกิจวัตรประจำวันที่เกิดจากการทำงาน ดังนั้นการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนในตำบลกันตังใต้ เช่นการสอนวิธีการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยตนเอง การให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ป้องกันและรักษาโรคเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เพื่อลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายและลดโอกาสการเกิดโรคที่รุนแรง
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงสุขภาพของประชาชนในตำบลกันตังใต้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ประจำปี 2567 เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และสามารถนำความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาปรับใช้เพื่อการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“สุขภาพ” หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเปนองครวมอยางสมดุล และการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง การกระทำที่มุ่งส่งเสริมและและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทางกาย จิต ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม การป้องกันโรค หมายถึง การกระทำหรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วย หรือ เป็นโรคแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือก่อนการเจ็บป่วย การป้องกันโรคในระยะที่เกิดโรคหรือเจ็บป่วยขึ้นแล้ว และการป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพเมื่อหายจากการเจ็บป่วยแล้ว
ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศที่ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนกระทั่งปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาโรคมากขึ้น ดังนั้นครอบครัวและสังคมจึงหันมาใส่ใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุนั้นจะต้องเป็นการดูแลครบทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งโรคในผู้สูงอายุที่พบบ่อย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ข้อเข่าเสื่อม สมองเสื่อม โรคซึมเศร้า เป็นต้น ล้วนเป็นโรคที่จำเป็นต้องป้องกันดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุตั้งแต่ต้นด้วยการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อโรค ตลอดจนการรักษา บำบัด ฟื้นฟูเมื่อเป็นโรคแล้ว ดังนั้น การดูแลสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพต้องดูแลให้เหมาะสมทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุแล้วนั้นจะได้มีสุขภาพที่ดี ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นอีกศาสตร์ที่น่าสนใจในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยศาสตร์ทางแพทย์แผนไทยนั้น จะแบ่งอายุช่วงวัยเป็น 3 ช่วง เรียกว่า อายุสมุฏฐานโดยแบ่งออกเป็น 3 วัย คือ ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย โดยแต่ละช่วงวัยจะมีการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน ตำบลกันตังใต้มีประชากรทุกช่วงวัย โดยมีประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ และประชากรวัยทำงานเป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมงพื้นบ้าน และอาชีพรับจ้าง ผู้สูงอายุที่ยังสามารถทำงานได้นั้นทำอาชีพรับจ้างลอกใบจากเพื่อเป็นการหารายได้ ซึ่งใบจากถือเป็นสินค้าทางการเกษตรพื้นบ้านในตำบลกันตังใต้ การสับ – ลอก ใบจากเป็นเวลานานนั้นส่งผลให้ผู้สูงอายุและประชาชนที่ประกอบอาชีพนี้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น ปวดกล้ามเนื้อ บ่า คอ หลัง ขาและหัวเข่า จากกิจวัตรประจำวันที่เกิดจากการทำงาน ดังนั้นการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนในตำบลกันตังใต้ เช่นการสอนวิธีการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยตนเอง การให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ป้องกันและรักษาโรคเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เพื่อลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายและลดโอกาสการเกิดโรคที่รุนแรง
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงสุขภาพของประชาชนในตำบลกันตังใต้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ประจำปี 2567 เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และสามารถนำความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาปรับใช้เพื่อการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- 2. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้สามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.ขั้นเตรียมการ
- 2.ขั้นดำเนินการ
- 3.สรุปผลการดำเนินโครงการ
- 1. ขั้นเตรียมการ
- ๑. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
- 2. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีความรู้ในการใช้สมุนไพร และการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ
- ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีสุขภาพดี สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้อย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกันตังใต้ จำนวน 16,650 บาท โดยได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2567 ณ ห้องประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ กลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนในตำบลกันตังใต้ จำนวน 30 คน มีกิจกรรมบรรยายให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เช่นการดูแลสุขภาพตามสมุฏฐานธาตุเจ้าเรือน สมุนไพรใกล้ตัวและวิธีการนำไปใช้เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย กิจกรรมฝึกปฏิบัติการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ศีรษะ คอ บ่า ไหล่ กิจกรรมฝึกปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพร และยาดมพิมเสนน้ำสมุนไพร พบว่า ประชาชนตำบลกันตังใต้ มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น และสามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
บรรลุตามวัตถุประสงค์ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ..................16,650.00 บาท........
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ..................16,069.00 บาท........ คิดเป็นร้อยละ.....96.51...
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..........................581 บาท......... คิดเป็นร้อยละ........3.49……...
มีรายละเอียดการเบิกจ่าย ดังนี้
1. จัดจ้างทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.20 x 2.80 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500.00 บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องศาสตร์การแพทย์แผนไทย จำนวน 1 คน จำนวน
2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
3. จัดจ้างทำเอกสารความรู้ประกอบการอบรม จำนวน 30 เล่ม เล่มละ 30 บาท เป็นเงิน 900 บาท
4. จัดซื้อปากกาลูกลื่น จำนวน 30 ด้าม ด้ามละ 5 บาท เป็นเงิน 150 บาท
5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 2 มื้อๆละ 30 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,520 บาท โดยจำแนกเป็น
- กลุ่มเป้าหมายหลักที่เข้ารับการอบรม จำนวน 30 คน
- ประธานในพิธีเปิดโครงการ แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม จำนวน 6 คน
- เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน 2 คน
- ผู้สังเกตการณ์ จำนวน 4 คน
6. ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้ดำเนินงาน จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท จำนวน 42 คน เป็นเงิน 2,520 บาท โดยจำแนกเป็น
- กลุ่มเป้าหมายหลักที่เข้ารับการอบรม จำนวน 30 คน
- ประธานในพิธีเปิดโครงการ แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม จำนวน 6 คน
- เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ จำนวน 2 คน
- ผู้สังเกตการณ์ จำนวน 4 คน
7. วิทยากรให้ความรู้และสอนปฏิบัติการนวดไทยเพื่อบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ จำนวน 2 คน จำนวน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
8. วิทยากรให้ความรู้และสอนปฏิบัติการผลิตลูกประคบสมุนไพรและยาดมสมุนไพร จำนวน 2 คน จำนวน 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
9. จัดซื้อชุดอุปกรณ์ผลิตยาลูกประคบสมุนไพร จำนวน 30 ชุด ชุดละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
10. จัดซื้อชุดอุปกรณ์ผลิตยาดมสมุนไพร จำนวน 30 ชุด ชุดละ 35 บาท เป็นเงิน 1,050 บาท
11. จัดซื้อสมุนไพรสดใช้สำหรับสาธิตทำยาลูกประคบสมุนไพร 1 ชุด เป็นเงิน 300 บาท
12. จัดซื้อมีด จำนวน 1 เล่มๆละ 150 บาท เป็นเงิน 89 บาท
13. จัดซื้อเขียง จำนวน 1 อันๆละ 60 บาท เป็นเงิน 20 บาท
14. จัดซื้อถุงมือยาง จำนวน 1 กล่อง เป็นเงิน 220 บาท
รวมงบประมาณรายจ่ายในโครงการทั้งหมด จำนวน 16,069 บาท (หนึ่งหมื่นหกพันหกสิบเก้า บาทถ้วน)
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน -ไม่มี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนตำบลกันตังใต้มีความรู้ความเข้าใจการใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ อย่างน้อยร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนในตำบลกันตังใต้สามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนตำบลกันตังใต้สามารถเลือกใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง อย่างน้อยร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | 30 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
“สุขภาพ” หมายความว่า ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเปนองครวมอยางสมดุล และการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง การกระทำที่มุ่งส่งเสริมและและสนับสนุนให้บุคคลมีสุขภาวะทางกาย จิต ปัญญา และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมบุคคลและการจัดการสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม การป้องกันโรค หมายถึง การกระทำหรืองดกระทำบางสิ่งบางอย่างเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วย หรือ เป็นโรคแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๓ ระดับ คือ การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือก่อนการเจ็บป่วย การป้องกันโรคในระยะที่เกิดโรคหรือเจ็บป่วยขึ้นแล้ว และการป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพเมื่อหายจากการเจ็บป่วยแล้ว
ในปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศที่ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 จนกระทั่งปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในการรักษาโรคมากขึ้น ดังนั้นครอบครัวและสังคมจึงหันมาใส่ใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุนั้นจะต้องเป็นการดูแลครบทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งโรคในผู้สูงอายุที่พบบ่อย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไตเสื่อม โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ข้อเข่าเสื่อม สมองเสื่อม โรคซึมเศร้า เป็นต้น ล้วนเป็นโรคที่จำเป็นต้องป้องกันดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุตั้งแต่ต้นด้วยการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อโรค ตลอดจนการรักษา บำบัด ฟื้นฟูเมื่อเป็นโรคแล้ว ดังนั้น การดูแลสุขภาพทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ จิตวิญญาณ และสิ่งแวดล้อมจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพต้องดูแลให้เหมาะสมทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุ เมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุแล้วนั้นจะได้มีสุขภาพที่ดี ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นอีกศาสตร์ที่น่าสนใจในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยศาสตร์ทางแพทย์แผนไทยนั้น จะแบ่งอายุช่วงวัยเป็น 3 ช่วง เรียกว่า อายุสมุฏฐานโดยแบ่งออกเป็น 3 วัย คือ ปฐมวัย มัชฌิมวัย และปัจฉิมวัย โดยแต่ละช่วงวัยจะมีการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน ตำบลกันตังใต้มีประชากรทุกช่วงวัย โดยมีประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ และประชากรวัยทำงานเป็นจำนวนมากซึ่งส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การประมงพื้นบ้าน และอาชีพรับจ้าง ผู้สูงอายุที่ยังสามารถทำงานได้นั้นทำอาชีพรับจ้างลอกใบจากเพื่อเป็นการหารายได้ ซึ่งใบจากถือเป็นสินค้าทางการเกษตรพื้นบ้านในตำบลกันตังใต้ การสับ – ลอก ใบจากเป็นเวลานานนั้นส่งผลให้ผู้สูงอายุและประชาชนที่ประกอบอาชีพนี้มีอาการปวดกล้ามเนื้อ เช่น ปวดกล้ามเนื้อ บ่า คอ หลัง ขาและหัวเข่า จากกิจวัตรประจำวันที่เกิดจากการทำงาน ดังนั้นการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนในตำบลกันตังใต้ เช่นการสอนวิธีการนวดบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อด้วยตนเอง การให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ป้องกันและรักษาโรคเพื่อเป็นการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เพื่อลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วยที่อาจก่อให้เกิดอันตรายและลดโอกาสการเกิดโรคที่รุนแรง
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ได้เล็งเห็นความสำคัญถึงสุขภาพของประชาชนในตำบลกันตังใต้ จึงมีแนวคิดในการดำเนินโครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ ประจำปี 2567 เพื่อมุ่งเน้นให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และสามารถนำความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาปรับใช้เพื่อการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในประชาชนตำบลกันตังใต้ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1460-01-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( หัวหน้าสำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......