กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑ เพื่อคัดกรอง ค้นหา ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน สร้างชุมชนยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 100 ของจำนวนครัวเรือนหมู่ที่ 5 มีการคัดกรอง ค้นหาผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดยาเสพติด
0.00

 

2 ข้อที่ ๒ ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติด เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ฟื้นฟู หรือส่งต่อเข้าระบบการรักษา มีการติดตามผลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๕๐ ของผู้ได้รับการคัดกรอง เข้าสู่กระบวนการบำบัด รักษา และติดตามผลอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 ข้อที่ ๓ ส่งเสริมชุมชนและภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : - ภาคีเครือข่ายที่ร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 452
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 452
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑ เพื่อคัดกรอง ค้นหา ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน สร้างชุมชนยั่งยืนในการแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) ข้อที่ ๒ ผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติด เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ฟื้นฟู หรือส่งต่อเข้าระบบการรักษา มีการติดตามผลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน (3) ข้อที่ ๓ ส่งเสริมชุมชนและภาคีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนบำบัดยาเสพติดอย่างยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑.  ประชุมชี้แจงแนวทาง และแผนการจัดกิจกรรมร่วมกับคระกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ (2) ๒.  อบรมให้ความรู้ เรื่อง พิษภัยจากยาเสพติด ทีมวิทยากรจาก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ สงขลา (3) 3.  กิจกรรม “คัดกรอง ค้นหาผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน ” ลงพื้นที่รวมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน          3.๑  จัดทำทะเบียนผู้เสพ ผู้ใช้ ผู้ติดสารเสพติดในชุมชน          3.๒  ลงพื้นที่คัดกรองร่วมภาคีเครือข่ายและส่งผู้สมัครใจเข้าสู่กระบวนการบำบัด รักษ (4) ๔. จัดกิจกรรม “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม”            ๔.๑ กิจกรรมกลุ่มบำบัด            ๔.๒ กิจกรรมครอบครัวบำบัด          ๔.๓ กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน (5) 5.กิจกรรมถอดบทเรียน ชุมชนบำบัดยาเสพติด แกนนำชุมชน ตัวแทนภาคีเครือข่าย คณะทำงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh