กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ห่างไกลภาวะโลหิตจาง
รหัสโครงการ L3332
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า
วันที่อนุมัติ 20 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 27,420.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า
ละติจูด-ลองจิจูด 7.435,100.197place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 112 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     สถานการณ์ภาวะโลหิตจาง เป็นปัญหาสาธารณสุขไทยที่สำคัญ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กปฐมวัย เนื่องจากเป็นระยะที่สมองพัฒนาอย่างรวดเร็ว การขาดหรือพร่องธาตุเหล็กส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางด้านสมองและสติปัญญา รวมถึงการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย จากการสำรวจภาวะโภชนาการของเด็กไทย อายุ 6 เดือน – 12 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2553-2555 ภายใต้โครงการ South East Asia Nutrition Survey (SENUTS) กลุ่มเด็กปฐมวัย มีความชุกโลหิตจางในเขตชนบท ร้อยละ41.7 และเขตเมือง ร้อยละ 26 ซึ่งการขาดหรือพร่องธาตุเหล็กเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการเกิดภาวะโลหิตจางในเด็ก
    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาดไข่เต่า ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญที่จะมุ่งเน้นส่งเสริมกลุ่มเด็กปฐมวัย ให้มีพัฒนาการที่สมวัย ดังนั้นการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการป้องกันภาวะโลหิตโลหิตจาง โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงเพื่อเฝ้าระวัง และให้การรักษาที่เหมาะสมต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็กอายุ 2-5 ปี ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก

1.ร้อยละ 100 เด็กอายุ 2-5 ปี ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก

2 2.เพื่อให้เด็กอายุ 2-5 ปี ได้รับการคัดกรองความเข้มข้นเลือด (Hematocrit)

2.ร้อยละ 80 ผู้เด็กอายุ 2-5 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็ก 2-5 ปี ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก เพื่อส่งเสริมภาวะโลหิตจางและภาวะโภชนาการ
  2. เด็ก 2-5 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะโลหิตจางและรับการรักา ร้อยละ 80
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ค. 2567 13:35 น.