กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่


“ โครงการปูพรมสุขภาพดี คนลำใหม่ "ทำ FERM ไม่ทำ FORM" ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอัสมี มะโร๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการปูพรมสุขภาพดี คนลำใหม่ "ทำ FERM ไม่ทำ FORM"

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67 – L7929 – (01) - 07 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปูพรมสุขภาพดี คนลำใหม่ "ทำ FERM ไม่ทำ FORM" จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปูพรมสุขภาพดี คนลำใหม่ "ทำ FERM ไม่ทำ FORM"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปูพรมสุขภาพดี คนลำใหม่ "ทำ FERM ไม่ทำ FORM" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67 – L7929 – (01) - 07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ ในปีงบประมาณ 2567 พบว่า กลุ่มประชากรที่มีอายุ 35 ขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงเกิดโรคเบาหวาน จำนวน 2,049 คน ผลปรากฎว่ากลุ่มเสี่ยงด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 325 คน (คิดเป็น 15.86%) กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 49 คน(คิดเป็น 2.40%) กลุ่มยืนยันเป็นโรคเบาหวาน(รายใหม่) จำนวน 3 คน (คิดเป็น 0.15%) ทำให้ตำบลลำใหม่มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน รวม 258 คน คิดเป็นร้อยละ 11.85 ของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปทั้งหมด และการคัดกรองภาวะเสี่ยงเกิดโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,682 คน ผลปรากฏว่า พบกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 335 คน (คิดเป็น 19.92%) กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 282 คน (คิดเป็น 16.77%) และกลุ่มยืนยันเป็นโรคความดันโลหิตสูง(รายใหม่) จำนวน 20 คน (คิดเป็น 1.19%) ทำให้ตำบลลำใหม่มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง รวม 689 คน คิดเป็นร้อยละ 31.65 ของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปทั้งหมด จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่าการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในตำบลลำใหม่ ยังคงมีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีกลุ่มประชากรที่มีอายุต่ำกว่า 35 ปี ที่มีภาวะเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอีกจำนวนมาก ซึ่งการคัดกรองสุขภาพในทุกกลุ่มอายุถือเป็นสิ่งที่จำเป็นในการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ รวมถึงการตรวจสุขภาพทางห้องปฏิบัติการหรือการส่งเสริมให้ประชาชนมีการตรวจสุขภาพประจำปี จะเป็นกลไกการคัดกรองหรือมาตรการที่สำคัญในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ หากพบว่ามีภาวะเสี่ยงหรือได้รับการวินิจฉัยก็จะได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันโรคหรืออาการแทรกซ้อนจากโรคได้ ทั้งนี้ การส่งเสริมองค์ความรู้ในการจัดการพฤติกรรมเสี่ยง ยังเป็นที่สำคัญที่สุดในการป้องกันโรคต่างๆได้ จึงได้จัดทำโครงการปูพรมสุขภาพดี คนลำใหม่
“ทำ FERM ไม่ทำ FORM” เพื่อคัดกรองภาวะสุขภาพรายบุคคล ภาวะเสี่ยงสุขภาพและการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การจัดทำข้อมูลสุขภาพของชุมชนและแผนงาน/โครงการสุขภาพ และมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้หลัก 3 อ. 2 ล. คือ อาหาร (Food) ออกกำลังกาย (Exersice) อารมณ์ (Mood) ลด(Refrain)บุหรี่และแอลกอฮอล์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ “ทำ FERM ไม่ทำ FORM”
  2. กิจกรรมปูพรมสุขภาพดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลำใหม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง โดยใช้หลัก 3 อ. 2 ล.
2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคเรื้อรัง (รายใหม่) ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง 3.มีฐานข้อมูลสุขภาพของชุมชน นำไปสู่การจัดทำแผนงาน/โครงการในการแก้ปัญหาสุขภาพของชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
20.00 10.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
35.00 10.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
30.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ  “ทำ FERM ไม่ทำ FORM” (2) กิจกรรมปูพรมสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปูพรมสุขภาพดี คนลำใหม่ "ทำ FERM ไม่ทำ FORM" จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67 – L7929 – (01) - 07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัสมี มะโร๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด