โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ บุญญา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L8429-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L8429-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพการณ์ในปัจจุบันปัญหาต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคมได้ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนให้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจากสังคมที่สงบมีความโอบอ้อมอารีเป็นสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันกลับกลายเป็นสังคมที่วุ่นวายแก่งแย่งแข่งกัน ที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของคนในชุมชนที่เห็นได้ชัดเจน คือ กลุ่มผู้สูงอายุเนื่องจากเป็นวัยที่พ้นจากวัยแรงงานจึงมักถูกทิ้งให้อยู่บ้านตามลำพังผู้สูงอายุหลายคนขาดความสุขทางใจ เกิดเป็นโรคซึมเศร้าจากภาพปัญหาผู้สูงอายุดังกล่าวผู้สูงอายุในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ บ้านดุหุน ทุกคนนับถือศาสนาอิสลาม มีจำนวนทั้งสิ้น ๑๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕ เปอร์เซ็นต์ ของประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ ซึ่งนับว่ามีผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ การดูแลสุขภาพร่างกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง โดยสุขภาพ ในทัศนะอิสลาม” จะเน้นในมิติด้าน “จิตวิญญาณ (spiritual well-being)” เป็นสำคัญ เพราะอิสลามมีหลักความศรัทธาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพระผู้เป็นเจ้า คือ มีความศรัทธาในพระเจ้า อิสลามเชื่อว่าสุขภาวะที่สมบูรณ์ทางจิตวิญญาณ จะเป็นพลังที่จะนำไปสู่สุขภาพที่ดีโดยรวม เนื่องจากอิสลามเป็นวิถีการดำเนินชีวิต (Way of Life) ที่ตั้งอยู่ในกรอบแนวทางของศาสนาที่พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน และแบบอย่างคำสอนของท่านศาสดามุฮัมหมัด ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ทั้งในเรื่องการกิน การนอน กิจวัตรประจำวันทั่วไป สังคม วัฒนธรรม สุขภาพอนามัย การเจ็บป่วย ความตาย และอื่นๆ ซึ่งมีบัญญัติไว้ทั้งสิ้น การมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงดี ย่อมเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต และกระบวนการพัฒนาในทุกด้านทุกมิติ ดังที่ท่านนบีมุฮัมหมัด ได้กล่าวถึงสุขภาพไว้อย่างกว้างขวางและครอบคลุมปัจจัยแห่งสุขภาวะ อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสำคัญของสุขภาพไว้อย่างเป็นองค์รวม ว่า“ผู้ใดที่ตื่นเช้าขึ้นมา มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีจิตใจที่สงบร่มเย็น ไม่มีความวิตกกังวลทุกข์ร้อน มีอาหารสำหรับบริโภคในวันนั้น ก็ประหนึ่งว่าเขาผู้นั้นได้ครองโลกไว้ทั้งโลก”
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๓ จึงได้มีแนวทางจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาประจำปี ๒๕๖7 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำหลักธรรมของศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิตด้วยการเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตด้วย ความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และมีความรอบคอบเพื่อให้เกิดความสมดุลและพร้อมกับความเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว และส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน
- เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี ๒๕๖7
- กิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม ประจำปี 2567
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอยู่กับชุมชนและครอบครัวได้อย่างมีความสุข
- ผู้สูงอายุได้นำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
- ผู้สูงอายุได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมและพบปะแลกเปลี่ยนกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม ประจำปี 2567
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ค้นหาและรวบรวมผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบล
- จัดทำโครงการ
- เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะทำงานและประชุมชี้แจงคณะทำงานในการจัดเตรียมการดำเนินงาน
- ดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ
- ประเมินผลโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอยู่กับชุมชนและครอบครัวได้อย่างมีความสุข
- ผู้สูงอายุได้นำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
- ผู้สูงอายุได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมและพบปะแลกเปลี่ยนกัน
80
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ
2
เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุสามารถนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน
3
เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี ๒๕๖7 (2) กิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม ประจำปี 2567
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L8429-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอดุลย์ บุญญา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ บุญญา
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L8429-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L8429-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพการณ์ในปัจจุบันปัญหาต่างๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคมได้ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนให้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจากสังคมที่สงบมีความโอบอ้อมอารีเป็นสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันกลับกลายเป็นสังคมที่วุ่นวายแก่งแย่งแข่งกัน ที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของคนในชุมชนที่เห็นได้ชัดเจน คือ กลุ่มผู้สูงอายุเนื่องจากเป็นวัยที่พ้นจากวัยแรงงานจึงมักถูกทิ้งให้อยู่บ้านตามลำพังผู้สูงอายุหลายคนขาดความสุขทางใจ เกิดเป็นโรคซึมเศร้าจากภาพปัญหาผู้สูงอายุดังกล่าวผู้สูงอายุในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ บ้านดุหุน ทุกคนนับถือศาสนาอิสลาม มีจำนวนทั้งสิ้น ๑๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕ เปอร์เซ็นต์ ของประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ ๓ ซึ่งนับว่ามีผู้สูงอายุในชุมชนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ การดูแลสุขภาพร่างกายจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง โดยสุขภาพ ในทัศนะอิสลาม” จะเน้นในมิติด้าน “จิตวิญญาณ (spiritual well-being)” เป็นสำคัญ เพราะอิสลามมีหลักความศรัทธาที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับพระผู้เป็นเจ้า คือ มีความศรัทธาในพระเจ้า อิสลามเชื่อว่าสุขภาวะที่สมบูรณ์ทางจิตวิญญาณ จะเป็นพลังที่จะนำไปสู่สุขภาพที่ดีโดยรวม เนื่องจากอิสลามเป็นวิถีการดำเนินชีวิต (Way of Life) ที่ตั้งอยู่ในกรอบแนวทางของศาสนาที่พระผู้เป็นเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน และแบบอย่างคำสอนของท่านศาสดามุฮัมหมัด ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ทั้งในเรื่องการกิน การนอน กิจวัตรประจำวันทั่วไป สังคม วัฒนธรรม สุขภาพอนามัย การเจ็บป่วย ความตาย และอื่นๆ ซึ่งมีบัญญัติไว้ทั้งสิ้น การมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงดี ย่อมเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต และกระบวนการพัฒนาในทุกด้านทุกมิติ ดังที่ท่านนบีมุฮัมหมัด ได้กล่าวถึงสุขภาพไว้อย่างกว้างขวางและครอบคลุมปัจจัยแห่งสุขภาวะ อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสำคัญของสุขภาพไว้อย่างเป็นองค์รวม ว่า“ผู้ใดที่ตื่นเช้าขึ้นมา มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีจิตใจที่สงบร่มเย็น ไม่มีความวิตกกังวลทุกข์ร้อน มีอาหารสำหรับบริโภคในวันนั้น ก็ประหนึ่งว่าเขาผู้นั้นได้ครองโลกไว้ทั้งโลก” ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๓ จึงได้มีแนวทางจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาประจำปี ๒๕๖7 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำหลักธรรมของศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิตด้วยการเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตด้วย ความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และมีความรอบคอบเพื่อให้เกิดความสมดุลและพร้อมกับความเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว และส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน
- เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี ๒๕๖7
- กิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม ประจำปี 2567
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอยู่กับชุมชนและครอบครัวได้อย่างมีความสุข
- ผู้สูงอายุได้นำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
- ผู้สูงอายุได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมและพบปะแลกเปลี่ยนกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม ประจำปี 2567 |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
80 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุสามารถนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน |
|
|||
3 | เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุโดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี ๒๕๖7 (2) กิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม ประจำปี 2567
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุโดยใช้หลักธรรมคำสอนของศาสนาอิสลาม หมู่ที่ 3 บ้านดุหุน ประจำปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L8429-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอดุลย์ บุญญา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......