กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเด็กเล็กปลอดเหาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลจะแนะ
รหัสโครงการ 67-L2474-3-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลจะแนะ
วันที่อนุมัติ 4 กรกฎาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 14 สิงหาคม 2567 - 15 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 16 กันยายน 2567
งบประมาณ 50,480.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซูรียะห์ ดือราโอะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายเสรี เซะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.077,101.693place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 203 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 203 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเป็นเหาในเด็กปฐมวัยนับว่าเด็กทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นเหาและได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง เนื่องจากเด็กปฐมวัยที่เป็นเหาจะขาดสมาธิในการเรียนและสูญเสียบุคลิกภาพที่ดี พบว่าเด็กที่เป็นเหาจะมีอาการคันศีรษะอย่างมาก เนื่องจากน้ำลายของตัวเหาที่ทำให้เกิดภาวการณ์ระคายเคืองต่อหนังศีรษะ การเกาหนังศีรษะอย่างมากอาจทำให้เกิดการอับเสบและติดเชื้อเรื้อรังได้ การสำรวจการเป็นเหามุ่งสำรวจไปที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเนื่องจากภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีเด็กนักเรียนที่เป็นจำนวนมากจึงมีการติดต่อโดยง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใกล้ชิดหรือใช้ของร่วมกัน นอกจากนี้เหายังเพิ่มจำนวนและขยายพันธ์อย่างรวดเร็วได้ตลอดปี โอกาสหายจากโรคนี้จึงค่อนข้างยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดโรคซ้ำ การติดเหาพบได้มากในเด็กที่รักษาความสะอาดของหนังศีรษะไม่ดีพอ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครองอีกด้วย เนื่องจากตรวจสุขภาพเบื้องต้นของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลจะแนะ พบการติดโรคเหา แต่การตรวจครั้งนี้ไม่ได้มีการเก็บข้อมูลในเชิงสถิติ อย่างเป็นทางการ ซึ่งอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537(ฉบับที่7) พ.ศ.2562 หมวดที่ 2 ส่วนที่ 3 อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ได้กำหนดให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรตรา 67 (6) กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ในการส่งเสริมการเมือง สตรี เด็กเยาวชน ผู้สูงและผู้พิการ       จากเหตุดังกล่าวจึงดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคเหาของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็กนักเรียนทั้งหมด(เช่น ผู้ปกครอง เด็กนักเรียน) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลจะแนะ ทั้งนี้เพื่อนำให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคเหาให้มีประสิทธิภาพอย่างยิ่งขึ้นต่อไป อันจะเป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในท้องถิ่น ให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 . เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และคำแนะนำแก่ผู้ปกครองของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลจะแนะ 2. เพื่อป้องกันการเกิดเหาในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลลจะแนะ 3. เพื่อให้เด็กรายใหม่ได้ปราศจากเหา

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กวัยก่อนเรียน
      2. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลจะแนะ มีสุขภาพอนามัยที่ดี ปลอดเหา
      3. ไม่มีการเกิดเหาในเด็กรายใหม่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ส.ค. 2567 15:38 น.