กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแอโรบิคลานวัฒนธรรมตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568 ”




หัวหน้าโครงการ
นายประชิต สารานพคุณ




ชื่อโครงการ โครงการแอโรบิคลานวัฒนธรรมตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8008-02-04 เลขที่ข้อตกลง 4/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแอโรบิคลานวัฒนธรรมตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแอโรบิคลานวัฒนธรรมตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแอโรบิคลานวัฒนธรรมตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L8008-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 65,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชมรมแอโรบิคลานวัฒนธรรมได้จัดกิจกรรมเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง ทั้งเวลาเช้า-เย็น ทุกวันจันทร์-วันเสาร์ และมีการจัดกิจกรรมเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพสมาชิกและประชาชนทั่วไป ส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิกในชุมชน ผ่านการออกกำลังกายด้วยวิธีเต้นแอโรบิค และ เพิ่มความตระหนักรู้ในด้านสุขภาพและการออกกำลังกายลดอัตราการเจ็บป่วย ดังนั้นชมรมแอโรบิคลานวัฒนธรรมได้เชิญชวนสมาชิกออกกำลังกายเป็นประจำทั้งเช้าและเย็น ให้สมาชิกมีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ชมรมแอโรบิคได้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 9 ปี สรุปความพึงพอใจของสมาชิก จำนวน 80 คน จากปีงบประมาณ 2567 1.สถานที่ในการออกกำลังกาย 1.1 แสงสว่างของสถานที่ ได้คะแนน 4.0 พอใจมาก 1.2 พื้นที่ในการเต้นแอโรบิค ได้คะแนน 3.86 พอใจมาก 1.3 สถานที่จอดรถ ได้คะแนน 4.06 พอใจมาก 2.การเต้นแอโรบิค 2.1 แนวเพลงที่ใช้ในการเต้น ได้คะแนน 4.15 พอใจมาก 2.2 ระดับความดังของเสียงเพลง ได้นคะแนน 4.0 พอใจมาก 2.3 ความยากง่ายของท่าเต้น ได้คะแนน 4.12 พอใจมาก 2.4 ขั้นตอนการวอมร์อัพก่อนเต้นได้คะแนน 4.12 พอใจมาก 2.5 ขั้นตอนการคูณดาวน์ หลังเต้น ได้คะแนน 3.68 พอใจมาก 2.6 การถ่ายทอดการเต้นของผู้นำ ได้คะแนน 4.12 พอใจมาก 2.7 ความน่าสนใจในการเต้น ได้คะแนน 4.06 พอใจมาก 2.8 ระยะเวลาในการออกกำลังกาย ได้คะแนน 4.37 พอใจมาก เกณฑ์คะแนน 1.0 - 1.50 พอใจระดับน้อยที่สุด 1.51 - 2.50 พอใจระดับน้อย 2.51 - 3.50 พอใจระดับปานกลาง 3.51 - 4.50 พอใจระดับมาก 4.51 - 5.00 พอใจระดับมากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้บุคคลทุกเพศทุกวัยออกกำลังกายช่วงเช้า-เย็นลดพฤติกรรมเนื่อยนิ่ง
  2. คัดเลือกบุคคลต้นแบบการดูแลสุขภาพ(คน)
  3. ส่งเสริมกิจกรรมรวมกลุ่มคนรักสุขภาพ
  4. เพิ่มจำนวนคนเข้าถึงการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมออกกำลังกายด้วยวิธีแอโรบิคเช้าลานวัฒนธรรม
  2. กิจกรรมออกกำลังกายด้วยวิธีเต้นแอโรบิคเย็นลานวัฒนธรรม
  3. คัดเลือกบุคคลต้นแบบและประเมินผลกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี 2.ใช้ท่าเต้นที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ โดยมีวิทยากรเป็นผู้ดูแลและแนะนำ 3.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และ สร้างความสัมพันธ์ทีดีกับสมาชิกในชมรม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมออกกำลังกายด้วยวิธีแอโรบิคเช้าลานวัฒนธรรม

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. การเตรียมความพร้อมก่อนเริ่ม (5-10 นาที) • ผู้ฝึกนำกล่าวต้อนรับและแจ้งข้อมูล เช่น รูปแบบการเต้นในวันนั้น ระยะเวลา ฯลฯ • แนะนำท่าพื้นฐานสำหรับผู้เริ่มต้นหรือสมาชิกใหม่ • ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องเสียง พื้นที่ และน้ำดื่ม
  2. วอร์มอัพ (Warm Up) — 5-10 นาที • เพื่อเตรียมร่างกายให้พร้อม เพิ่มอุณหภูมิของกล้ามเนื้อ และลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ • ท่าที่ใช้: เดินเบา ๆ อยู่กับที่, ยืดกล้ามเนื้อ, หมุนข้อมือ ข้อเท้า เอว หัวไหล่ • จังหวะเพลง: เบา ๆ สม่ำเสมอ เพื่อกระตุ้นจังหวะหัวใจเล็กน้อย
  3. การเต้นแอโรบิก (Aerobic Workout) — 20-30 นาที • ใช้ท่าทางที่ต่อเนื่อง ประสานจังหวะกับเพลง เพื่อเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจและการเผาผลาญพลังงาน • จัดแบ่งระดับความเข้มข้น เช่น: • สัปดาห์แรก: ความเร็วระดับปานกลาง (Low Impact) • สัปดาห์ถัดไป: ปรับเป็น High Impact (มีการกระโดดหรือก้าวยาวมากขึ้น) • ตัวอย่างท่า: • Step Touch, V-Step, Grapevine • Marching, Kick front, Side leg lift, Jumping jack (ตามระดับความสามารถ)
  4. คูลดาวน์ (Cool Down) — 5-10 นาที • ลดอัตราการเต้นของหัวใจอย่างช้า ๆ เพื่อให้ร่างกายกลับสู่สภาพปกติ • ใช้จังหวะเพลงช้าลง และท่าทางนุ่มนวล เช่น เดินช้า ๆ เหยียดแขน ขา เบา ๆ
  5. ยืดเหยียด (Stretching) — 5 นาที • เน้นการยืดกล้ามเนื้อที่ใช้ในการเต้น เช่น น่อง ต้นขา หลัง สะโพก • ช่วยลดอาการปวดเมื่อย และป้องกันการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ
  6. สรุปกิจกรรม / ปิดกิจกรรม (3-5 นาที) • ครูผู้สอนกล่าวสรุปกิจกรรมในวันนั้น เช่น ประเมินความรู้สึก ความเหนื่อย • เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมกิจกรรมสอบถามหรือแสดงความคิดเห็น • แจ้งกิจกรรมในวันถัดไป (ถ้ามี)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

✅ 1. ผลผลิต (Outputs) คือ สิ่งที่สามารถวัดได้โดยตรงจากกิจกรรม เช่น จำนวนการเข้าร่วม จำนวนครั้งที่จัดกิจกรรม เป็นต้น รายการ รายละเอียด จำนวนครั้งที่จัดกิจกรรม เช่น จัด 30 ครั้ง/เดือน หรือสัปดาห์ละ 7วัน จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น เฉลี่ยวันละ 30 คน
จำนวนครูหรือผู้นำกิจกรรม เช่น มีครูสอน 7 คน สลับวันกันสอน เอกสารหรือสื่อที่ผลิตขึ้น เช่น ใบประชาสัมพันธ์, ป้ายกิจกรรม, ตารางแอโรบิก ความสม่ำเสมอในการเข้าร่วม มีผู้เข้าร่วมต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ จำนวน 30คน 2. ผลลัพธ์ (Outcomes) คือ การเปลี่ยนแปลงหรือผลลัพธ์เชิงคุณภาพที่เกิดขึ้นกับผู้เข้าร่วมและชุมชน รายละเอียด - สุขภาพร่างกายดีขึ้น - ผู้เข้าร่วมมีความแข็งแรง ทนทานดีขึ้น- น้ำหนักลดลงในบางราย- ลดความดันโลหิตหรือระดับน้ำตาลในเลือด (ในกลุ่มเสี่ยง) สุขภาพจิตดีขึ้น - มีความสุข สนุกสนาน ลดความเครียด- รู้สึกมีคุณค่าและมีกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ความสัมพันธ์ในชุมชนดีขึ้น - สร้างความสามัคคี พบปะแลกเปลี่ยนกันระหว่างสมาชิก- เพิ่มความร่วมมือในการจัดกิจกรรมอื่น ๆ ต่อเนื่อง พฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนไป - เริ่มตื่นเช้า ออกกำลังกายสม่ำเสมอ- หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเนือยนิ่ง เช่น การนั่งอยู่กับที่นาน ๆ มีแนวโน้มลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ - ลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้บุคคลทุกเพศทุกวัยออกกำลังกายช่วงเช้า-เย็นลดพฤติกรรมเนื่อยนิ่ง
ตัวชี้วัด : จัดกิจกรรมเต้นแอโรบิค อย่างน้อยสัปดาห์ละ 6 วัน ทั้งช่วงเช้า และเย็น
6.00 6.00

 

2 คัดเลือกบุคคลต้นแบบการดูแลสุขภาพ(คน)
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลต้นแบบการดูแลสุขภาพ อย่างน้อย 10 คน
3.00 10.00

 

3 ส่งเสริมกิจกรรมรวมกลุ่มคนรักสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มีกิจกรรมร่วมกันภายในกลุ่มอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง
0.00 2.00

 

4 เพิ่มจำนวนคนเข้าถึงการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค
ตัวชี้วัด : มีจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายโดยเฉลี่ยเพิ่มจำนวนมากขึ้นกว่าปีที่แล้ว 10คน
50.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้บุคคลทุกเพศทุกวัยออกกำลังกายช่วงเช้า-เย็นลดพฤติกรรมเนื่อยนิ่ง (2) คัดเลือกบุคคลต้นแบบการดูแลสุขภาพ(คน) (3) ส่งเสริมกิจกรรมรวมกลุ่มคนรักสุขภาพ (4) เพิ่มจำนวนคนเข้าถึงการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมออกกำลังกายด้วยวิธีแอโรบิคเช้าลานวัฒนธรรม (2) กิจกรรมออกกำลังกายด้วยวิธีเต้นแอโรบิคเย็นลานวัฒนธรรม (3) คัดเลือกบุคคลต้นแบบและประเมินผลกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการแอโรบิคลานวัฒนธรรมตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568

รหัสโครงการ 68-L8008-02-04 รหัสสัญญา 4/2568 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการแอโรบิคลานวัฒนธรรมตำบลพิมาน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8008-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประชิต สารานพคุณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด