กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้มีระบบบริการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะสุขภาพ เป็นจุดให้บริการตรวจเช็คสุขภาพ และรวบรวมองค์ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองในชุมชน สุขศาลา (Health station)
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง 80%
80.00

 

2 2 เพื่อยกระดับกลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้คนทุกช่วงวัยมีสุขภาวะดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีองค์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง 80%
80.00

 

3 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามสภาพปัญหาของพื้นที่
ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ 70%
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้มีระบบบริการเฝ้าระวังและคัดกรองภาวะสุขภาพ เป็นจุดให้บริการตรวจเช็คสุขภาพ และรวบรวมองค์ความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นด้วยตนเองในชุมชน สุขศาลา (Health station) (2) 2 เพื่อยกระดับกลไกการขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อให้คนทุกช่วงวัยมีสุขภาวะดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (3) 3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามสภาพปัญหาของพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 7.1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่แกนนำ อสม. เจ้าหน้าที่จุดบริการนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป เจ้าหน้าที่คณะทำงาน  และวิทยากร รวม 60 คน เพื่อให้สามารถใช้อุปกรณ์และให้คำแนะนำแก่ผู้มาใช้บริการ  สุขศาลา (Health Station) (2) 7.2 กิจกรรมจัดหาชุดเครื่องมือ อุปกรณ์ในการใช้ในจุดบริการจัดตั้งสถานีคัดกรองสุขภาพชุมชน สุขศาลา(Health station) (3) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้อง (4) ค่าวิทยากรบรรยาย (5) ค่าวิทยากรแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ (6) วัสดุอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม (7) ป้ายแสดง “จุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง สุขศาลา Health station (8) ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิทัลพร้อมที่วัดส่วนสูง (9) ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดอัตโนมัติแบบสอดแขน (10) โต๊ะพับขาว (11) ค่าเก้าอี้มีพนักพิงไม่มีล้อสำหรับนั่งวัดความดันโลหิต นั่งลงทะเบียน และนั่งรอตรวจ (12) สื่อความรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ (13) ค่าเครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ (14) วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh