โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย ”
ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายชยุต ขุนรักษาพล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
ที่อยู่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L4799-1-03 เลขที่ข้อตกลง 7/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L4799-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคหนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี มากขึ้นกว่าคนปกติ 3-9 เท่า ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่ปลอดภัยโดยพบว่าอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมายังต่ำอยู่ เพียงร้อยละ ๔๖.๙ เท่านั้น ผลกระทบประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ การคลอดบุตรของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย พบว่า มีวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่มาคลอดบุตร รวม 104,289 คน เท่ากับว่าในแต่ละวันมีเด็กที่เกิดจากแม่วัยรุ่นถึง 286 คน ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ คิดว่าการร่วมเพศครั้งเดียวแล้วจะไม่ตั้งครรภ์ การใช้ถุงยางอนามัยจะขัดขวางความรู้สึกทางเพศ โดยร้อยละ 80 เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ทำให้วัยรุ่นตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์หรือทำแท้ง ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ปลอดภัย เสี่ยงอันตรายและอาจเสียชีวิตได้ และยังพบว่า มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นด้วย มาตรการที่จะหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ในกลุ่มเยาวชนได้อย่างแท้จริงและมีความยั่งยืนประการหนึ่ง คือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยงและหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ เด็กและเยาวชนต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคม ด้วยการให้ความสำคัญ ในการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เด็กและเยาวชน
ตามพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 มาตรา 50 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้ (4) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ และตามพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสทิงพระ ได้ตระหนักถึงปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยขึ้น เพื่อมุ่งเน้นให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากเอดส์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- เพื่อกระตุน และสงเสริมการสร้างทัศนคติและพฤติกรรมในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ถูกตอง
- เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนมีทักษะในการป้องกันตัวเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้ เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- กลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันตนเองจากภาวะเสี่ยงได้
- ลดอัตราการติดเชื้อรายใหม่
- เยาวชนไม่มีการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ให้ความรู้ เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
วันที่ 6 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
90
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ตามโครงการรณรงค์ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย ได้ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวสถานการณ์และแนวโน้มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, ความรู้เรื่องโรคเอดส์ / โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัย /การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว และทักษะการปฏิเสธ ให้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 โรงเรียนในเมือง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2
เพื่อกระตุน และสงเสริมการสร้างทัศนคติและพฤติกรรมในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ถูกตอง
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชน มีทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
3
เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนมีทักษะในการป้องกันตัวเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียน และเยาวชนมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
92
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
92
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อกระตุน และสงเสริมการสร้างทัศนคติและพฤติกรรมในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ถูกตอง (3) เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนมีทักษะในการป้องกันตัวเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L4799-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชยุต ขุนรักษาพล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย ”
ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายชยุต ขุนรักษาพล
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L4799-1-03 เลขที่ข้อตกลง 7/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L4799-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสำคัญระดับชาติ ที่หน่วยงานและทุกภาคส่วนต้องระดมความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จากข้อมูลสำนักระบาดวิทยา พบว่าอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคหนองใน ทำให้มีโอกาสติดเชื้อเอชไอวี มากขึ้นกว่าคนปกติ 3-9 เท่า ซึ่งเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่ปลอดภัยโดยพบว่าอัตราการใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในรอบปีที่ผ่านมายังต่ำอยู่ เพียงร้อยละ ๔๖.๙ เท่านั้น ผลกระทบประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือ การตั้งครรภ์ การคลอดบุตรของแม่วัยรุ่นในประเทศไทย พบว่า มีวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่มาคลอดบุตร รวม 104,289 คน เท่ากับว่าในแต่ละวันมีเด็กที่เกิดจากแม่วัยรุ่นถึง 286 คน ส่วนหนึ่งเกิดมาจากมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการร่วมเพศ คิดว่าการร่วมเพศครั้งเดียวแล้วจะไม่ตั้งครรภ์ การใช้ถุงยางอนามัยจะขัดขวางความรู้สึกทางเพศ โดยร้อยละ 80 เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ทำให้วัยรุ่นตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์หรือทำแท้ง ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ปลอดภัย เสี่ยงอันตรายและอาจเสียชีวิตได้ และยังพบว่า มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวีเพิ่มขึ้นด้วย มาตรการที่จะหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ในกลุ่มเยาวชนได้อย่างแท้จริงและมีความยั่งยืนประการหนึ่ง คือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จะปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ที่เป็นพฤติกรรมเสี่ยงและหากไม่สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ เด็กและเยาวชนต้องมีความตระหนักถึงการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยต่อตนเองและสังคม ด้วยการให้ความสำคัญ ในการให้ความรู้ ความเข้าใจแก่เด็กและเยาวชน
ตามพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552 มาตรา 50 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้ (4) ป้องกันและระงับโรคติดต่อ และตามพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสทิงพระ ได้ตระหนักถึงปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการระบาดของโรคเอดส์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยขึ้น เพื่อมุ่งเน้นให้เด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการป้องกันตนเอง และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากเอดส์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- เพื่อกระตุน และสงเสริมการสร้างทัศนคติและพฤติกรรมในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ถูกตอง
- เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนมีทักษะในการป้องกันตัวเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ให้ความรู้ เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- กลุ่มเป้าหมายสามารถป้องกันตนเองจากภาวะเสี่ยงได้
- ลดอัตราการติดเชื้อรายใหม่
- เยาวชนไม่มีการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ให้ความรู้ เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ |
||
วันที่ 6 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
|
90 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ตามโครงการรณรงค์ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย ได้ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวสถานการณ์และแนวโน้มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, ความรู้เรื่องโรคเอดส์ / โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัย /การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว และทักษะการปฏิเสธ ให้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 โรงเรียนในเมือง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ |
|
|||
2 | เพื่อกระตุน และสงเสริมการสร้างทัศนคติและพฤติกรรมในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ถูกตอง ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชน มีทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนมีทักษะในการป้องกันตัวเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียน และเยาวชนมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | 92 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | 92 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อกระตุน และสงเสริมการสร้างทัศนคติและพฤติกรรมในการป้องกันโรคเอดส์ และโรคติดตอทางเพศสัมพันธที่ถูกตอง (3) เพื่อให้เด็กนักเรียน เยาวชนมีทักษะในการป้องกันตัวเองให้ ห่างไกลโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ เรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ป้องกันโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L4799-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชยุต ขุนรักษาพล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......