กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการพัฒนาแกนนำนักเรียนขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง) ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอมรินทร์ มัชฌิมาภิโร ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง)

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาแกนนำนักเรียนขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง)

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-37 เลขที่ข้อตกลง 56/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาแกนนำนักเรียนขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาแกนนำนักเรียนขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาแกนนำนักเรียนขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-37 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,310.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นและเยาวชนเป็นประเด็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ องค์การสหประชาชาติ ได้กำหนดให้การลดอัตราคลอดในวัยรุ่นอายุ 10 - 14 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ตัวชี้วัดที่ 3.7 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคน      ทุกเพศทุกวัย ซึ่งจากข้อมูลอัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10 - 14 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 10 - 14 ปี        พันคน ลดลงจาก 1.4 ต่อพันคน ในปี พ.ศ. 2559 เป็น 0.85 ต่อพันคน (HDC Q 1 ณ 16 มี.ค.66) ในปี พ.ศ. 2566 โดยสถานการณ์การคลอดมีชีพของประเทศไทยตั้งแต่มีการบังคับใช้ พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ. 2560-2569 ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 จนปัจจุบัน
แม้สถิติการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นโดยภาพรวมระดับประเทศมีแนวโน้มลดลง แต่ข้อมูลของพื้นที่จังหวัดสงขลา ยังไม่สอดคล้องกับสถิติระดับประเทศ ในปี พ.ศ.2566 จำนวนเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 15 ปี          ที่ตั้งครรภ์ จำนวน 11 คน แต่ ในปี พ.ศ. 2567 ตั้งแต่ 1 มกราคม – 21 มิถุนายน มีจำนวนเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่ตั้งครรภ์ จำนวน 25 คน เพิ่มขึ้นจำนวน 14 คน ทั้งนี้เพราะ วัยรุ่นขาดความรอบรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต วัยรุ่นไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการได้อย่างแท้จริง รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในด้านทัศนคติของผู้ให้บริการวัยรุ่น ความพร้อม      ในการให้บริการของสถานบริการยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะบริการที่เกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ภายใต้กฎหมาย เมื่อวัยรุ่นตั้งครรภ์และให้กำเนิดบุตร มีแนวโน้มที่ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม การออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งไม่มีความพร้อมในการเลี้ยงดูบุตร กระทำความรุนแรงในครอบครัว      เป็นแรงงานราคาถูก ครอบครัวแตกแยกและยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่น ๆ ตามมาอีกมากมาย
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันแก้ไขโดยทุกภาคส่วนที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ดังนั้นทางโรงเรียนเทศบาล3 (วัดศาลาหัวยาง) จึงจัดทำโครงการพัฒนาแกนนำนักเรียนขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างแกนนำให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องเพศวิถีศึกษา
  2. 2. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
  3. 3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจใน ตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพศวิถีศึกษารอบด้าน และการพัฒนาศักยภาพแกนนำ 2 วัน
  2. แกนนำขยายผลขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6 ครั้ง
  3. ค่าวิทยากร
  4. ค่าวิทยากรกลุ่ม
  5. ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่มสำหรับนักเรียน และผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  6. ค่าอาหารกลางวัน สำหรับนักเรียน และผู้เข้าร่วม
  7. ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม
  8. ค่ากระเป๋าใส่อุปกรณ์เครื่องเขียน
  9. ค่าจัดจ้างทำป้ายไวนิล
  10. ค่าโรลอัพ สื่อประกอบการฝึกอบรม
  11. ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ แกนนำขยายผลขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ
  12. ค่าจัดจ้างทำป้ายไวนิล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 127
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสามารถขยายผลให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องเพศวิถีศึกษา
  2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีองค์ความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
    1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างแกนนำให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องเพศวิถีศึกษา
ตัวชี้วัด : 1. สร้างแกนนำจากคณะกรรมการสภานักเรียน เคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียน ร้อยละ 80
80.00

 

2 2. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ร้อยละ 80 มีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
80.00

 

3 3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจใน ตนเอง
ตัวชี้วัด : 3. แกนนำขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียน จัดกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ร้อยละ 80 ของ กิจกรรมทั้งหมดตามแผน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 127
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 127
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างแกนนำให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องเพศวิถีศึกษา (2) 2. เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีความรู้ และทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ (3) 3. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจใน            ตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเพศวิถีศึกษารอบด้าน และการพัฒนาศักยภาพแกนนำ 2 วัน (2) แกนนำขยายผลขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6 ครั้ง (3) ค่าวิทยากร (4) ค่าวิทยากรกลุ่ม (5) ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่มสำหรับนักเรียน และผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6) ค่าอาหารกลางวัน สำหรับนักเรียน และผู้เข้าร่วม (7) ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม (8) ค่ากระเป๋าใส่อุปกรณ์เครื่องเขียน (9) ค่าจัดจ้างทำป้ายไวนิล (10) ค่าโรลอัพ สื่อประกอบการฝึกอบรม (11) ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ แกนนำขยายผลขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ (12) ค่าจัดจ้างทำป้ายไวนิล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาแกนนำนักเรียนขับเคลื่อนประเด็นเพศวิถีศึกษาในโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-37

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอมรินทร์ มัชฌิมาภิโร ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 3 (วัดศาลาหัวยาง) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด