โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาริชาติ ชินพิทักษ์วัฒนา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2567-L6896-03-04 เลขที่ข้อตกลง 21/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2567-L6896-03-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,342.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กแต่ละวัยจะมีพัฒนาการทางร่างกาย ความคิดและอารมณ์ที่แตกต่างกัน การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมและความสามารถชองเด็กๆ ในด้านต่าง ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการช่วยเหลือและจัดกิจกรรมส่งเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ควรเกิดขึ้นควบคู่ไปกับการจัดประสบการณ์โดยผ่านการเล่น การฟัง การดู การจับต้อง การทำตามแบบอย่างและลองทำ โดยผ่านสื่อที่หลากหลาย อุปกรณ์ประเมินพัฒนาการเด็ก DSPM เป็นสื่อของเล่นที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจากกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นสื่อหรืออุปกรณ์ที่มีความจำเป็นและสำคัญที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือสถานศึกษา เมื่อครูผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองนำมาใช้ในการประเมินคัดกรองเด็กแล้ว ส่งผลให้การประเมินนั้นมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ว่าเด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านเหมาะสมตามวัยหรือไม่ เพื่อผู้ที่ทำการประเมินสามารถนำผลมาวิเคราะห์ และให้ความช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมหรือประสบการณ์พัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพของตนเอง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลูกรัก เห็นความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านให้มีความเหมาะสมกับวัย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย
- เพื่อให้ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ถึงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/แก้ไข กระตุ้นเด็กที่มีพัฒนากรล่าช้าให้มีความเหมาะสมตามวัย อบรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยงในการใช้เครื่องมือ DSPM
- กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการโดยใช้เครื่องมือ DSPM ได้เหมาะสมตามวัย
- เด็กเล็กที่มีพัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมตามวัย ได้รับการแก้ไขส่งต่อเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเบื้องต้นโดยการสังเกตุการทำกิจกรรมของเด็ก/การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
2.สรุปผล/รวบรวมข้อมูล
3.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้
4.จัดซื้อเครื่องมือ DSPM
5.สรุปและรายงานผลต่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรับทราบและดำเนินการต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลดำเนินการงาน สรุปผลจากการสังเกตและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กจำนวน 42 คน พบว่าเด็กที่พัฒนาการสมวัยปกติ จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 80.96 สงสัยล่าช้าในส่วนของการรับรู้เข้าใจภาษาจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38 และด้านการใช้ภาษาจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.28 ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยง ในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย จากการดำเนินการพบว่า ร้อยละ 100 ของครูและพี่เลี้ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยและสามารถใช้เครื่องมือประเมินเด็กได้ถูกต้อง ดำเนินการประเมินพัฒนาการพบว่า พัฒนาการสมวัยปกติ จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 88.10 สงสัยพัฒนาการล่าช้าในส่วนของการรับรู้เข้าใจภาษา จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38 และด้านการใช้ภาษาจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4
7+ การช่วยเหลือตนเอง/การเข้าสังคม จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38
54
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเบื้องต้นโดยการสังเกตุการทำกิจกรรมของเด็ก/การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
2.สรุปผล/รวบรวมข้อมูล
3.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้
4.จัดซื้อเครื่องมือ DSPM
5.สรุปและรายงานผลต่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรับทราบและดำเนินการต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลดำเนินการงานพบว่า ร้อยละ 100 ของครูและพี่เลี้ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยและสามารถใช้เครื่องมือประเมินเด็กได้ถูกต้อง
54
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามช่วงวัย
2
เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย
3
เพื่อให้ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย (3) เพื่อให้ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ถึงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/แก้ไข กระตุ้นเด็กที่มีพัฒนากรล่าช้าให้มีความเหมาะสมตามวัย อบรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยงในการใช้เครื่องมือ DSPM (2) กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2567-L6896-03-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปาริชาติ ชินพิทักษ์วัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาริชาติ ชินพิทักษ์วัฒนา
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2567-L6896-03-04 เลขที่ข้อตกลง 21/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2567-L6896-03-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,342.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กแต่ละวัยจะมีพัฒนาการทางร่างกาย ความคิดและอารมณ์ที่แตกต่างกัน การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมและความสามารถชองเด็กๆ ในด้านต่าง ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการช่วยเหลือและจัดกิจกรรมส่งเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ควรเกิดขึ้นควบคู่ไปกับการจัดประสบการณ์โดยผ่านการเล่น การฟัง การดู การจับต้อง การทำตามแบบอย่างและลองทำ โดยผ่านสื่อที่หลากหลาย อุปกรณ์ประเมินพัฒนาการเด็ก DSPM เป็นสื่อของเล่นที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจากกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นสื่อหรืออุปกรณ์ที่มีความจำเป็นและสำคัญที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือสถานศึกษา เมื่อครูผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองนำมาใช้ในการประเมินคัดกรองเด็กแล้ว ส่งผลให้การประเมินนั้นมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ว่าเด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านเหมาะสมตามวัยหรือไม่ เพื่อผู้ที่ทำการประเมินสามารถนำผลมาวิเคราะห์ และให้ความช่วยเหลือในการจัดกิจกรรมหรือประสบการณ์พัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพของตนเอง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลูกรัก เห็นความสำคัญของการส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านให้มีความเหมาะสมกับวัย จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย
- เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย
- เพื่อให้ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ถึงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/แก้ไข กระตุ้นเด็กที่มีพัฒนากรล่าช้าให้มีความเหมาะสมตามวัย อบรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยงในการใช้เครื่องมือ DSPM
- กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการโดยใช้เครื่องมือ DSPM ได้เหมาะสมตามวัย
- เด็กเล็กที่มีพัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมตามวัย ได้รับการแก้ไขส่งต่อเพื่อกระตุ้นพัฒนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเบื้องต้นโดยการสังเกตุการทำกิจกรรมของเด็ก/การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน 2.สรุปผล/รวบรวมข้อมูล 3.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ 4.จัดซื้อเครื่องมือ DSPM 5.สรุปและรายงานผลต่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรับทราบและดำเนินการต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลดำเนินการงาน สรุปผลจากการสังเกตและเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กจำนวน 42 คน พบว่าเด็กที่พัฒนาการสมวัยปกติ จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 80.96 สงสัยล่าช้าในส่วนของการรับรู้เข้าใจภาษาจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38 และด้านการใช้ภาษาจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.28 ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยง ในการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย จากการดำเนินการพบว่า ร้อยละ 100 ของครูและพี่เลี้ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยและสามารถใช้เครื่องมือประเมินเด็กได้ถูกต้อง ดำเนินการประเมินพัฒนาการพบว่า พัฒนาการสมวัยปกติ จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 88.10 สงสัยพัฒนาการล่าช้าในส่วนของการรับรู้เข้าใจภาษา จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38 และด้านการใช้ภาษาจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 7+ การช่วยเหลือตนเอง/การเข้าสังคม จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.38
|
54 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยเบื้องต้นโดยการสังเกตุการทำกิจกรรมของเด็ก/การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน 2.สรุปผล/รวบรวมข้อมูล 3.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ 4.จัดซื้อเครื่องมือ DSPM 5.สรุปและรายงานผลต่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรับทราบและดำเนินการต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลดำเนินการงานพบว่า ร้อยละ 100 ของครูและพี่เลี้ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยและสามารถใช้เครื่องมือประเมินเด็กได้ถูกต้อง
|
54 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามช่วงวัย |
|
|||
2 | เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย |
|
|||
3 | เพื่อให้ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัยที่สงสัยว่ามีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อและได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมตามช่วงวัย (3) เพื่อให้ครูประจำห้อง ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กตามช่วงวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ถึงแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก/แก้ไข กระตุ้นเด็กที่มีพัฒนากรล่าช้าให้มีความเหมาะสมตามวัย อบรมให้ความรู้แก่ครู ครูพี่เลี้ยงและพี่เลี้ยงในการใช้เครื่องมือ DSPM (2) กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้เครื่องมือ DSPM
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2567-L6896-03-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปาริชาติ ชินพิทักษ์วัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......