กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยที่ดีของลูกรักด้วยโยคะ ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปาริชาติ ชินพิทักษ์วัฒนา

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยที่ดีของลูกรักด้วยโยคะ

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2568-L6896-03-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยที่ดีของลูกรักด้วยโยคะ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยที่ดีของลูกรักด้วยโยคะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยที่ดีของลูกรักด้วยโยคะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 มกราคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,569.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัย เด็กเล็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสำคัญยิ่งที่จะต้องเติบโตเป็นผู้ใหญ่สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่าเทียมและอยู่ร่วมกันกับเพื่อนๆ อย่างมีความสุข สุขภาพกายเด็กควรจะได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพเด็ก การส่งเสริมให้เด็กเล็กมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ ตลอดถึงได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเอง เช่น การเล่นและการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง การใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับกิจกรรมก็จะสามารถเสริมพัฒนาการของเด็กให้เป็นไปอย่างถูกวิธี
การให้เด็กเด็กฝึกโยคะเด็ก เป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ให้กับเด็กทั้งร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ทำให้เด็กเล็กมีสมาธิมากขึ้น การฝึกโยคะเด็ก นั้นช่วยเด็กๆ ในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ โดยผ่านท่าทางและการเคลื่อนไหวต่างๆ เด็กเล็กๆ จะได้ใช้งานกล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้อย่างเหมาะสมเหมือนกับการวิ่ง การกระโดด การเดิน การทรงตัว และอื่นๆโยคะเด็กช่วยให้เด็กมีสมาธิและมีความสนใจในการทำกิจกรรมได้นาน เกิดทักษะการเรียนรู้ทางด้านสังคม ซึ่งจะช่วยให้เด็กเล็กสามารถปรับตัวได้ดีเมื่อเข้าโรงเรียน เด็กเล็กจะมีโอกาสในการฝึกที่จะฟังและทำตามคำสั่ง มีส่วนร่วมในการเล่นที่เสริมสร้างจินตนาการและได้สลับกันเล่นสิ่งของต่างๆกับเด็กคนอื่น เด็กเล็กรู้จักวิธีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างปลอดภัย มีโอกาสในการเรียนรู้วิธีการที่จะเคลื่อนไหวของร่างกาย ช่วยให้เด็กรู้จักที่จะจัดการกับความเครียด ความวิตกกังวลลง และปลอบโยนตัวเอง โยคะนั้นจะสอนให้เด็ก ๆ ได้รู้จักวิธีการหายใจและการแสดงออก ทั้งสองสิ่งนี้เป็นทักษะอันสำคัญสำหรับการจัดการความเครียด  ความวิตกกังวล ลดความก้าวร้าวและความรู้สึกอื่นๆสามารถช่วยเพิ่มความมั่นใจของเด็กๆ เพราะในวัยเด็กคือช่วงวัยที่มีความสนุกสนาน การทำท่าทางที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังและความคิดสร้างสรรค์ จะทำให้พวกเขามีความมั่นใจใน  การขยับร่างกายมากขึ้นและกล้าที่จะแสดงความคิดสร้างสรรค์ของตัวเองมากขึ้น  โดยมีผู้ปกครองร่วมเรียนรู้กับลูก สร้างสายใยรักในครอบครัว ศูนย์พัฒนาเด็กลูกรัก เห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยที่ดีของลูกรักด้วยโยคะ เพื่อเป็นการส่งเสริมเด็กเล็กให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงเหมาะสมกับวัยและปลูกฝังนิสัยการรักการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กเล็กขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ เหมาะสมกับวัย
  2. เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับวัย
  3. ผู้ปกครองและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลูกรักได้ร่วมเรียนรู้เรื่องโยคะไปพร้อมกับนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ จำนวน 2 รุ่น สำหรับผู้เข้าอบรม 2 กลุ่ม
  2. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ โดยผ่านท่าทางและการเคลื่อนไหวต่างๆ
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  4. กิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนออกกำลังกายโยคะเด็กได้อย่างถูกวิธี
2.นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เหมาะสมตามวัย 3.ผู้ปกครองได้ร่วมเรียนรู้เรื่องโยคะไปพร้อมกับลูก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีร่างกายแข็งแรง

 

2 เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายอย่างถูกต้อง เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะในการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง

 

3 ผู้ปกครองและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลูกรักได้ร่วมเรียนรู้เรื่องโยคะไปพร้อมกับนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลูกรัก สามารถช่วยดูแลให้นักเรียนออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัยได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ เหมาะสมกับวัย (2) เพื่อให้นักเรียนออกกำลังกายอย่างถูกต้อง  เหมาะสมกับวัย (3) ผู้ปกครองและบุคลากรศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลูกรักได้ร่วมเรียนรู้เรื่องโยคะไปพร้อมกับนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ จำนวน 2 รุ่น สำหรับผู้เข้าอบรม 2 กลุ่ม (2) กิจกรรมส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ โดยผ่านท่าทางและการเคลื่อนไหวต่างๆ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (4) กิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างสุขอนามัยสุขนิสัยที่ดีของลูกรักด้วยโยคะ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2568-L6896-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปาริชาติ ชินพิทักษ์วัฒนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด