กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย
รหัสโครงการ 2568-L6896-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มกะพังสุรินทร์ชวนเต้น
วันที่อนุมัติ 2 สิงหาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2567 - 31 มกราคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กุมภาพันธ์ 2568
งบประมาณ 25,525.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางราตรี จรูญศักดิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.559,99.616place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้นต่างๆ ที่มีความทันสมัย สะดวกสบายมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันเปลี่ยนไปประชาชนมีการออกกำลังกายน้อยลง ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และปัจจุบันปัญหาโรคไม่ติดต่อได้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน ๕ อันดับแรกในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่าง โรคไขมันอุดตัน ในเส้นเลือด และโรคหัวใจ ผู้ป่วยส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสอบถามพบว่าผู้ป่วยขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็สามารถลดปัญหาดังกล่าวลงได้ ทางกลุ่มกะพังสุรินทร์ชวนเต้น จึงจัดทำโครงการ    เติมความสุขด้วยการเต้นออกกำลังกาย โดยการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย และวิธีการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนมีความตระหนักและตื่นตัว เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และมีความสนุกสนาน ผ่อนคลาย ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ แล้วยังเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง และที่สำคัญการออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าวด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนที่สนใจได้รับการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิค

ร้อยละ 80 ของประชาชนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีโดยการเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 67พ.ย. 67ธ.ค. 67ม.ค. 68
1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค(1 ต.ค. 2567-31 ม.ค. 2568) 3,450.00        
2 กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค(1 ต.ค. 2567-31 ม.ค. 2568) 22,075.00        
รวม 25,525.00
1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,450.00 0 0.00
1 ต.ค. 67 - 31 ม.ค. 68 บรรยายให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค 0 3,450.00 -
2 กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 22,075.00 0 0.00
1 ต.ค. 67 - 31 ม.ค. 68 กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิค 0 22,075.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถควบคุมโรคและลดอัตราการเจ็บป่วยลงได้ ๒. ประชาชนที่เข้ากิจกรรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเต้นแอโรบิค ๓. เกิดกลุ่มออกกำลังกายด้วยการเต้นประกอบจังหวะด้วยดนตรีขึ้นในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ส.ค. 2567 13:30 น.