directions_run
โครงการเฝ้าระวังและค้นหาป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังและค้นหาป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก |
รหัสโครงการ | 09/2567 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขซือเลาะ |
วันที่อนุมัติ | 1 มกราคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2567 - 31 ตุลาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2567 |
งบประมาณ | 33,750.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอาบีเด็ง เจ๊ะโดสามะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเรียง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือด 2. เพื่อลดอัตราการป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 3. เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจของชุมชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 10.1. สามารถลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่ได้ 10.2. เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือด ในพื้นที่ได้ 10.3. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน 10.4. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 33,750.00 | 0 | 0.00 | 33,750.00 | |
1 ม.ค. 67 - 31 ต.ค. 67 | โครงการเฝ้าระวังและค้นหาป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก | 0 | 33,750.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 33,750.00 | 0 | 0.00 | 33,750.00 |
- สามารถลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในพื้นที่ได้
- เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือด ในพื้นที่ได้
- สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน
- ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2567 00:00 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ